อยากมีเงินเก็บ 10 ล้านก่อนอายุ 30 ต้องทำอย่างไร?

พูดถึงเงิน 10 ล้านน่าจะเป็นจำนวนมากพอที่ทำให้ชีวิตคนๆหนึ่งสุขสบายได้ แต่การจะได้มาซึ่งเงินจำนวนนี้ไม่ใช่ว่าทุกคนจะทำได้ บางคนพยายามมาทั้งชีวิตยังไม่เคยใกล้เคียงเงินล้านได้ด้วยซ้ำ

www.ThaiSMEsCenter.com มีความตั้งใจที่ต้องการให้ทุกคนมีเงินเก็บเงินฝากมากพอ แต่การหาเงินแบบไหนอย่างไร มันก็ขึ้นอยู่กับความขยันและตั้งใจ ยิ่งเริ่มเก็บเงินได้เร็วโอกาสได้เงินก้อนตอนอายุน้อยๆ ก็มีมาก ก่อนอื่นต้องมาตั้งเป้าให้ตัวเองก่อนเลยว่า อยากมีเงินเก็บ 10 ล้านตอนอายุเท่าไหร่

มีเงินเก็บ 10 ล้านก่อนอายุ 30 ทำได้จริงไหม?

อยากมีเงินเก็บ

ภาพจาก pixabay.com

คำตอบคือทำได้จริง แต่ไม่ใช่ทุกคนที่ทำได้ คนส่วนใหญ่เรียนจบเริ่มทำงานอายุประมาณ 22 ปี จะเห็นได้ว่าถ้ามาเริ่มตอนอายุ 22 ปีแล้วหวังจะมีเงินเก็บ 10 ล้านเท่ากับมีเวลาเก็บเงินแค่ 8 ปี เฉลี่ยต้องเก็บให้ได้ปีละ 1,250,000 บาท หรือเดือนละ 104,166 บาท ซึ่งบอกได้เลยว่ายากสำหรับคนทั่วไป ตามหลักการแล้วยิ่งมีเวลาในการออมเงินมาก การเก็บเงินก็จะผ่อนคลายมากขึ้น

ตัวอย่างของคนที่สำเร็จในเรื่องนี้ อาจต้องเริ่มทำงานตั้งแต่ก่อนเรียนจบ ทำงานหนักทุกอย่าง ที่สำคัญต้องมีจังหวะ มีโชค หรือมีไอเดียในการทำธุรกิจที่ดีมากๆ อันนี้ก็มีโอกาสสำเร็จ เช่น บางคนทำงานเป็นเซลล์ขายสินค้า แบบไม่ต้องสต็อกสินค้า ขายทุกอย่างตั้งแต่เคสมือถือ แอร์ โน๊ตบุ๊ค ฯลฯ รับทำงานเสริม งานพิเศษ ทุกอย่าง ถ้าสิ่งที่ทำทั้งหมดลงล็อคลงตัว ยอดขายจากการเป็นเซลล์ก็ดีในเวลาประมาณ 8-10 ปีมีโอกาสเป็นไปได้

อยากมีเงินเก็บ 10 ล้านควรทำอย่างไร?

อยากมีเงินเก็บ

ภาพจาก pixabay.com

ทีนี้ถ้าตัดตัวเลข “ก่อน 30” ออกไป แล้วถามว่าอยากมีเงินเก็บ 10 ล้านควรทำอย่างไร วิธีที่จะทำให้เรามีเงิน 10 ล้านได้นั้นมี 2 อย่างคือ

  1. เพิ่มเงินเก็บของเราต่อเดือนให้มากขึ้น
  2. เพิ่มผลตอบแทนของเงินเก็บเราให้มากขึ้น

เริ่มจากการเพิ่มเงินเก็บสิ่งที่ต้องมาคู่กันก็คือต้องหารายได้เพิ่มด้วย เพราะยิ่งมีรายได้มาก โอกาสมีเงินเก็บก็จะมาก สมมุติเก็บเงินได้เดือนละ 10,000 บาท ยังต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 70 ปีกว่าจะถึง 10 ล้าน ถ้าอยากลดเวลาให้น้อยกว่าก็ต้องเพิ่มเงินเก็บ เช่นเก็บเดือนละ 50,000 จะใช้เวลาประมาณ 17 ปี เป็นต้น แต่ปัญหาก็คือทฤษฏีพูดได้ แต่ในทางปฏิบัติก็ยังเป็นได้ยาก

ดังนั้นอีกวิธีที่จะทำให้มีเงิน 10 ล้านได้คือการเพิ่มผลตอบแทน หมายถึงการนำเงินไปลงทุนในสินทรัพย์ เช่นกองทุน พันธบัตร หรือหุ้นต่างๆ ยกตัวอย่างถ้าเราทำผลตอบแทนจากเงินเก็บได้ 5% ต่อปี โดยที่เราเก็บเงินเดือนละ 10,000 บาท เราจะลดเวลาจาก 70 ปี เป็น 33 ปี ในการแตะเงิน 10 ล้าน เป็นต้น

ตั้งเป้ามีเงิน 10 ล้านไว้ใช้ในวัยเกษียณ?

อยากมีเงินเก็บ

ภาพจาก pixabay.com

การมีเงิน 10 ล้านก่อนอายุ 30 ใครทำได้ก็คือสุดยอดมากแต่จังหวะชีวิต โชคชะตา ความสามารถ ทุกอย่างต้องลงล็อค โอกาสเป็นไปได้นั้นมี แต่ก็ขึ้นอยู่กับวิธีการตามที่ได้กล่าวไป และเพื่อไม่ให้ต้องเครียดหนักกับการเก็บเงินเปลี่ยนแผนมีเงิน 10 ล้านก่อนอายุ 30 มาเป็นมีเงิน 10 ล้านก่อนเกษียณ (อายุ 55) น่าจะเป็นอีกวิธีที่น่าสนใจ

คำถามคือจะรู้ได้อย่างไรว่าหลังเกษียณควรมีเงินเท่าไหร่ถึงจะเรียกว่าพอ เราตีกรอบตัวเลขง่ายๆ ว่าหลังเกษียณถ้ามีเงินใช้เดือนละ 25,000 น่าจะใช้ชีวิตได้สบายๆ และถ้าคิดว่าเราจะมีอายุถึง 80 ปี แสดงว่าเราต้องมีเงินระหว่างนี้ประมาณ 6 ล้านบาท แสดงว่าถ้าเรามีเงิน 10 ล้านบาทชีวิตวัยเกษียณของเราจะมีความสุขมาก

21

ภาพจาก pixabay.com

ซึ่งในระหว่างที่เรายังทำงาน ยังไม่ถึงวัยเกษียณนี้ ก็ควรมีการวางแผนการเงิน หาวิธีเพิ่มรายได้ เช่น ใครมีความสามารถในการถ่ายภาพก็สามารถรับงานถ่ายภาพตามงานต่างๆ อย่างงานรับปริญญาได้ หรือใครมีฝีมือในการทำขนมก็สามารถทำขนมมาขาย โดยใช้ Social Media ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นช่องทางในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ได้ หากอาชีพเสริมที่เราทำนั้นรุ่ง รับรองว่าจะมีรายได้เข้ามาอย่างไม่ขาดสาย

หรือการใช้เงินทำงานแทนเราซึ่งปัจจุบันมีแหล่งความรู้และคนที่มีประสบการณ์ด้านนี้จำนวนมาก ที่สามารถสอนและเป็นไกด์ไลน์ให้เราปฏิบัติตามได้ แต่เหนือสิ่งอื่นใดผลตอบแทนในอดีตไม่ได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลตอบแทนในอนาคต และการลงทุนไม่ใช่การฝากเงิน

ดังนั้น เราเองในฐานะของผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจลงทุน และเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่เหมาะกับระดับความเสี่ยงที่เรารับได้และระยะเวลาลงทุน ซึ่งบรรดาเศรษฐีระดับโลกทั้งหลายที่เราเห็นเขามีเงินเป็นร้อยล้านพันล้าน นั่นก็ไม่ใช่เพราะเขาทำธุรกิจอย่างเดียวแต่ทุกคนมีการลงทุนในรูปแบบเหล่านี้ ซึ่งถือเป็นการต่อยอดรายได้ให้เพิ่มพูนได้อย่างทวีคูณ

อ้างอิงจาก https://bit.ly/3rMZVUC

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise


8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์

1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์

  • กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
  • ชื่อกิจการ (Brand)
  • การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
  • การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
  • การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
  • การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
  • การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
  • การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
  • การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์

2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ

  • ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
  • ระบบการเงิน การบัญชี
  • งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
  • รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
  • ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ

3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
  • แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
  • สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
  • เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
  • มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
  • มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
  • ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี

4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์

  • กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
  • การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
  • สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
  • เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ

5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายแฟรนไชส์
  • ระบบการเงิน
  • ค่าธรรมเนียมต่างๆ
  • ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
  • การจดทะเบียนแฟรนไชส์
  • เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
  • ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
  • การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
  • การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
  • การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า

6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น

7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
  • พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
  • ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
  • การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
  • เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
  • จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์

8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์

  • การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
  • กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
  • การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
  • การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
  • กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
  • กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี

สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

คุณรัตนชัย ม่วงงาม (เปี๊ยก)

เรียนจบจากคณะนิเทศศาสตร์ ทำงานในด้านวารสารมากว่า10ปี สะสมความรู้หลากหลายแนวทั้งด้านการเกษตร สังคม สู่การประยุกต์เป็นอาชีพทั้ง SMEs และแฟรนไชส์รวมถึงแนวทางด้านกลยุทธ์การตลาดต่างๆ การเขียนคืองานที่เราตั้งใจและใจรักมากที่สุด