หน้ากากอนามัยแบบไหน! ป้องกันCOVID ได้ดีที่สุด
การสวมหน้ากากอนามัยคือวิธี ป้องกันCOVID 19 ที่ดีที่สุด ข้อมูลจาก WHO และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า หน้ากากอนามัยปกติสามารถป้องกันเชื้อไวรัสที่มากับละอองฝอยน้ำลายของผู้ป่วยที่ติดเชื้อได้มากถึง 95%แต่ต้องเป็นการสวมหน้ากากที่แนบสนิทไปกับผิวหน้าให้ได้มากที่สุด
หากสวมหน้ากากที่หลวม มีช่องว่างระหว่างหน้ากากกับใบหน้าระหว่างสวมใส่ ห่วงคล้องหูหย่อน หรือมีช่องโหว่บริเวณจมูก จะทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อไวรัสลดลงเหลือเพียง 41.3% เท่านั้น
www.ThaiSMEsCenter.com เชื่อว่าตอนนี้ทุกคนให้ความสำคัญกับการสวมหน้ากากซึ่งเราก็เห็นว่าปัจจุบันมีหน้ากากหลายชนิด บางทีมีการใส่แบบ 2 ชั้นด้วย ลองไปดูกันว่าหน้ากากอนามัยแบบไหน และวิธีใส่แบบไหนที่จะป้องกัน COVID 19 ได้มากที่สุด
คนส่วนใหญ่สวมหน้ากากอนามัยถูกวิธีเพียง 65%
ภาพจาก chulalongkornhospital.go.th
การสวมหน้ากากอนามัยให้ได้ประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อโรค คือ การทำให้ขอบหน้ากากแนบสนิทกับใบหน้า ลดช่องว่างระหว่างใบหน้าและหน้ากากให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะบริเวณข้างแก้ม และจมูก ซึ่งหน้ากากทางการแพทย์เราเห็นได้มากที่สุดและที่เห็นด้านหน้ามีสีเข้มก็เพื่อประโยชน์ในการกันน้ำ กันความชื้น และป้องกันละอองฝอย ด้วยมาตรฐานในการผลิตทำให้หน้ากากทางการแพทย์ มีรูประมาณ 3 – 5 ไมครอน ซึ่งจะทำให้สามารถป้องกันละอองฝอยที่เป็นแหล่งกำเนิดเชื้อโรคต่างๆ ที่แพร่กระจายอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้ และมีผลสำรวจของอนามัยโพล เรื่อง “การสวมหน้ากากในชุมชนละแวกที่พักและการสวมหน้ากากเมื่อออกนอกบ้าน” พบว่า ประชาชนในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นที่สีแดงเข้ม) สวมหน้ากากถูกวิธีเพียง 65% เท่านั้น ซึ่งหากจะจำแนกชนิดของหน้ากากและวิธีการใส่หน้ากากที่มีในปัจจุบันก็มีดังต่อไปนี้
1.หน้ากากทางการแพทย์
ภาพจาก pixabay.com
สามารถป้องกันโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัสจากคนสู่คนได้ถึง 99% ป้องกันฝุ่นและเกสรดอกไม้ ได้ขนาดเล็กสุดถึง 3 ไมครอน และสามารถกันได้ถึง 66.37% แนะนําให้ใส่ 2 แผ่น เพราะจะกันได้มีประสิทธิภาพถึง 89.75%
2.หน้ากากคาร์บอน
ภาพจาก https://bit.ly/3yt4yUu
มีคุณสมบัติไม่ต่างจาก หน้ากากทางการแพทย์แต่จะมีความพิเศษมากขึ้นมาเพราะมีชั้นคาร์บอน ที่สามารถกรองกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ได้ดีกว่าหน้ากากอนามัยทั่วไป และมีความหนา เส้นใยสังเคราะห์ถึง 4 ชั้น สามารถกรองเชื้อแบคทีเรียได้ถึง 95% กรองฝุ่นละออง ขนาด 3 ไมครอน สามารถกันได้ถึง 66.37% และถ้าสวมใส่ 2 แผ่น จะกันได้มีประสิทธิภาพถึง 89.75% เช่นเดียวกับหน้ากากอนามัยทางการแพทย์
3.หน้ากาก N95
ภาพจาก https://bit.ly/3jrGdbs
ป้องกันการเชื้อโรคที่มีขนาดเล็กมากๆ ได้โดยประสิทธิภาพในการป้องกันจะสูงกว่าหน้ากากอนามัยแบบทั่วไป
มีประสิทธิภาพในการดักจับอนุภาคขนาดเล็ก PM2.5 และ PM10 ไม่น้อยกว่า 95% และสามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้ในระดับดีมากอีกด้วย
4.หน้ากาก FFP1
ภาพจาก https://bit.ly/3Adt78I
มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับหน้ากากอนามัย N95 สามารถช่วยป้องกันทั้งฝุ่น เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัสได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ดักจับอนุภาคขนาดเล็ก PM 2.5 และ PM10 ไม่น้อยกว่า 94% แ ต่ นอกเหนือจาก N95 คือ สามารถป้องกัน สารเคมีฟูมโลหะ ได้เพิ่มเติมอีกด้วย
5.หน้ากากผ้า
ภาพจาก pixabay.com
หน้ากากผ้า มี 2 แบบ แบบแรกผลิตจากผ้าฝ้าย ใช้สําหรับป้องกันฝุ่นละออง และป้องกันการกระจายของน้ำมูกหรือน้ำลายจากการ ไอ จามได้แต่ไม่สามารถกรองเชื้อโรคที่มีขนาดเล็กมากๆ ได้แบบที่สองผลิตจากใย สังเคราะห์ซ้อนทับกัน โดยรวมแล้วคุณสมบัติของหน้ากากชนิดนี้มีคุณสมบัติในการกรองฝุ่น ป้องกันเชื้อโรคจําพวกเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อราได้
6.หน้ากาก KF94
ภาพจาก https://bit.ly/3Ab9m1p
หน้ากาก KF94 เป็นหน้ากากมาตรฐานของเกาหลีมีการทดสอบการกรองฝุ่นขนาดเล็ก เช่นเดียวกันกับหน้ากากมาตรฐาน N95 ของมาตรฐาน NIOSH จากอเมริกา เรียกว่า KF หรือ Korea Filter สามารถกันฝุ่นขนาดมากกว่า 3 ไมครอนได้ 100% แต่ถ้าเป็นฝุ่นที่เล็กกว่านั้นหรือ PM2.5 โดย KF94 ป้องกันได้ถึงระดับ 94% ส่วน KF80 สามารถกันได้ 80% โดยหน้ากากกันฝุ่นที่ได้มาตรฐานจะต้องระบุ KF อยู่ที่หน้าซอง โดยจะมีอยู่ 2 แบบคือ KF94 และ KF80
สำหรับCOVID 19 หรือเชื้อโรคติดต่ออื่นๆที่ ติดต่อผ่านละอองการไอ จาม ( Droplet transmission) ขนาดละอองในสภาวะทั่วไปมีขนาดใหญ่กว่า 3 ไมครอน หน้ากาก KF94 และ KF80 จึงสามารถป้องกันได้ 100% แต่ต้องใส่ให้มิดชิด ไม่มีรูรั่วที่หน้ากาก
7.หน้ากากฟองน้ำ
ภาพจาก https://bit.ly/3Adt78I
มีประสิทธิภาพในการกรองอากาศโดยเฉพาะ สามารถซักทําความสะอาดได้แห้งเร็ว พับเก็บไม่ยับสามารถคืนรูปเดิม ได้ไม่เสียทรง ส่วนประสิทธิภาพในการป้องกันสามารถกันฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กและเกสรดอกไม้ได้แต่มีคุณสมบัติในการป้องกันเชื้อโรคได้น้อยกว่าหน้ากากชนิดอื่นๆ
8.หน้ากากทางการแพทย์+หน้ากากผ้า
ภาพจาก https://bit.ly/3ipdJjh
เป็นการใส่หน้ากากแบบ 2 ชั้นที่ถูกต้อง โดยใส่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ไว้ด้านใน แล้วใช้หน้ากากผ้าใยสังเคราะห์ ที่เป็นลักษณะ 3 มิติเข้ากับใบหน้า สวมทับอีกชั้น กดให้หน้ากากแนบกับหน้าไว้ สังเกตว่าเวลาหายใจจะลำบากขึ้นกว่าการใส่หน้ากากอนามัยการแพทย์ธรรมดา เวลาหายใจเข้าจะรู้สึกได้ถึงการดูดของหน้ากากเข้ามาแนบกับใบหน้า ซึ่งถือว่าใช้ได้แล้ว และมีข้อดีคือสามารถถอดหน้ากากด้านในทิ้งได้ โดยที่ยังเก็บหน้ากากด้านนอกเอาไว้หรือซักได้ด้วย
9.หน้ากากทางการแพทย์ + หน้ากากทางการแพทย์ (ไม่ควรใช้วิธีนี้)
ปัจจุบันเราเห็นการใส่หน้ากาก 2 ชั้นแบบนี้เยอะมาก แต่ที่จริงแล้วข้อมูลทางการแพทย์ไม่แนะนำให้ทำวิธีนี้เพราะเกรงว่าจะทำให้เกิดช่องว่างระหว่างใบหน้ากับหน้ากากอนามัย ทำให้ลดประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อโรค จึงไม่แนะนำให้สวมซ้อนกัน 2 ชั้น เนื่องจากจะทำให้ไม่กระชับกับใบหน้า เกิดช่องว่าง ทำให้ต้องใช้มือขยับและเสี่ยงสัมผัสใบหน้าบ่อยๆ สำหรับวิธีการสวมหน้ากากอนามัยที่ดี คือ การสวม 2 ชั้น แต่ต้องเป็นการสวมหน้ากากผ้าทับหน้ากากอนามัยเท่านั้น
10.หน้ากากKF94 + หน้ากากทางการแพทย์ (ไม่ควรใช้วิธีนี้)
เป็นอีกรูปแบบของการใช้หน้ากาก 2 ชั้นที่พบเห็นได้ในตอนนี้โดยหน้ากาก KF94 สามารป้องกันเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยต้องใส่ให้แนบชิดกับใบหน้า ไม่มีร่องห่างโดยเฉพาะตรงส่วนจมูก ด้วยคุณสมบัติของ KF94 ที่ปิดลงมาถึงคางจึงค่อนข้างมั่นใจในคุณภาพได้ แต่ส่วนใหญ่มักมีการใส่หน้ากากทางการแพทย์แทรกเข้าไปและปิดทับด้วย KF94 ซึ่งอาจก่อให้เกิดช่องว่างระหว่างใบหน้ากับหน้ากากที่เราใส่อาจส่งผลต่อการป้องกันเชื้อCOVID 19 ได้
ฟันธงเกี่ยวกับหน้ากากอนามัยได้ว่า หน้ากากที่แนะนำให้ใส่คือหน้ากากทางการแพทย์ , KF94 และ N95 มีประสิทธิภาพดีที่สุด ส่วนการใส่แบบ 2 ชั้นแนะนำว่าควรเป็นหน้ากากผ้า+หน้ากากทางการแพทย์เท่านั้น เพื่อให้สามารถป้องกันเชื้อโรคต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
อ้างอิงจาก https://bit.ly/2WSbwoa
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์
1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์
- กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
- ชื่อกิจการ (Brand)
- การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
- การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
- การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
- การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
- การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
- การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
- การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์
2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ
- ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
- ระบบการเงิน การบัญชี
- งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
- รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
- ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
- กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ
3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์
- ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
- แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
- สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
- เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
- มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
- มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
- ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
- แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี
4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์
- กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
- การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
- สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
- การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
- เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ
5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายแฟรนไชส์
- ระบบการเงิน
- ค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
- การจดทะเบียนแฟรนไชส์
- เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
- ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
- การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
- แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
- การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
- การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า
6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น
7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
- พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
- ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
- การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
- เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
- จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์
8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์
- การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
- กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
- กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
- การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
- การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
- กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
- กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)