ส่องเงินเดือน! พนักงานสตาร์บัคส์ ได้เท่าไหร่

อีกหนึ่งอาชีพที่คนไทยให้ความสนใจ นั่นคือ พนักงานสตาร์บัคส์ ไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ ก็สามารถสมัครเป็นพนักงานได้ เพราะทางร้านมีการฝึกอบรมให้ตั้งแต่เริ่มต้น เพียงแต่ต้องมีใจรักบริการและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ที่สำคัญทางสตาร์บัคส์ไม่มีโยบายเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น มาดูกันว่าพนักงานร้านกาแฟสตาร์บัคส์ได้เงินเดือนเท่าไหร่ ทำหน้าที่อะไรกันบ้าง

พนักงานสตาร์บัคส์

ผู้จัดการร้าน (Store Manager)

  • เงินเดือน 26,000 บาท
  • วุฒิ ปริญญาตีขึ้นไป
  • ประสบการณ์ในตำแหน่ง 2 ปี
  • สามารถทำงานได้มากกว่า 1 ปี

หน้าที่รับผิดชอบ

  •  บริหารงานในร้านทุกอย่าง
  • ดูแลพนักงาน
  • จ้างพนักงาน
  • จัดตารางการทำงานให้พนักงาน

ผู้ช่วยผู้จัดการร้าน (Assistant Store Manager)

  • เงินเดือน 20,300 บาท
  • วุฒิ ปริญญาตรีขึ้นไป
  • มีใจรักบริการ
  • สามารถปฏิบัติงานได้มากกว่า 1 ปีขึ้นไป

หน้าที่รับผิดชอบ

  • บริการเครื่องดื่ม
  • ดูแลพนักงาน ลูกค้า
  • ดูแลยอดขายในสาขา

หัวหน้าพนักงานประจำร้าน (Supervisor)

  • เงินเดือน 17,000 บาท
  • วุฒิ ปริญญาตรี ขึ้นไป
  • มีประสบการณ์บริหารจัดการร้าน 2 ปี

หน้าที่รับผิดชอบ

  • ดูแล บริหารจัดการร้าน ช่วยผู้จัดการร้าน

พนักงานสตาร์บัคส์

พนักงานประจำร้านรายเดือน (Barista)

  • เงินเดือนเริ่มต้น 14,000 บาท
  • เงินช่วยเหลือพิเศษ 1,650 บาท (บางสาขา)
  • วุฒิ ปวส. หรือ ปริญญาตรี
  • อายุ 18 ปีขึ้นไป
  • ทำงานสัปดาห์ละ 5.5 วัน
  • วันละ 8 ชั่วโมง
  • ทำงานระยะยาว 1 ปี
  • สามารถทำงานเป็นกะได้

หน้าที่รับผิดชอบ

  • ให้บริการเครื่องดื่มและสินค้าแก่ลูกค้า
  • ดูแลความสะดวกลูกค้า
  • ดูแลความสะอาดเรียบร้อยในร้าน

พนักงานประจำร้านรายชั่วโมง (Barista Hourly)

  • ค่าจ้างชั่วโมงละ 60 บาท
  • เงินช่วยเหลือพิเศษ ชั่วโมงละ 6.88 บาท (บางสาขา)
  • วุฒิ ปวช. หรือ ม.6
  • อายุ 18 ปีขึ้นไป
  • ทำงานอย่างน้อย 4 วันต่อสัปดาห์
  • วันละ 6-8 ชั่วโมง
  • ทำงานระยะยาวได้
  • สามารถทำงานเป็นกะได้

หน้าที่รับผิดชอบ

  • ให้บริการเครื่องดื่มและสินค้าแก่ลูกค้า
  • ดูแลความสะดวกลูกค้า
  • ดูแลความสะอาดเรียบร้อยในร้าน

พนักงาน Cafe Attendant (พนักงานดูแลความสะอาดและความเรียบร้อยในร้าน)

  • ค่าจ้างชั่วโมงละ 48 บาท
  • อายุ 18-45 ปี
  • วุฒิการศึกษา ม.3 ขึ้นไป
  • ทำงานเป็นกะได้ 6-8 ชั่วโมง/วัน
  • สามารถทำงานได้ 4-5 วัน/สัปดาห์
  • รักงานด้านบริการ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

พนักงานสตาร์บัคส์

สวัสดิการและผลประโยชน์

  • โบนัส
  • เงินรางวัลการขาย
  • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
  • วันหยุดพักผ่อนประจำปี 6-15 วันต่อปี
  • วันหยุดนักขัตฤกษ์ 13-15 วันต่อปี
  • โอที
  • ส่วนลดพนักงาน
  • เมล็ดกาแฟหรือชา
  • ประกันชีวิต
  • ประกันสังคม
  • กิจกรรมประจำปี
  • ตรวจสุขภาพประจำปี
  • ค่าเรียนภาษา
  • เครื่องแบบพนักงาน
  • ค่ารักษาพยาบาลพาร์ทเนอร์และครอบครัว

นั่นคือ ตำแหน่งและหน้าที่ของการเป็นพนักงานร้านกาแฟสตาร์บัคส์ แต่ละสาขาอาจมีรายได้แตกต่างกันบ้าง ขึ้นอยู่กับทำเลพื้นที่รวมถึงเวลาในการเปิด-ปิดร้าน แต่ขอย้ำว่าทางสตาร์บัคส์ไม่มีโยบายเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

เจ้าของธุรกิจ หรือผู้สนใจทำแฟรนไชส์ สนใจรับคำปรึกษาวางระบบแฟรนไชส์ คลิก https://bit.ly/3MAqgPI
เจ้าของธุรกิจสนใจบริการจดเครื่องหมายการค้าแฟรนไชส์ คลิก https://bit.ly/3My1RtT

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise

0

ต้องการข้อมูลข่าวสาร ต้องการอัพเดทข้อมูลการตลาด หรือแนวทางการทำธุรกิจติดตามได้ที่ https://bit.ly/335phDi
รับฟังบทความต่างๆ ผ่านทาง PodCast ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ https://soundcloud.com/thaifranchisecenter

ข้อมูลจาก www.facebook.com/RecruitmentSBT

อ้างอิงจาก คลิกที่นี่


สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

คุณมนตรี ศรีวงษ์ (อ๊อฟ)

นักเขียน ผู้คลุกคลีอยู่ในแวดวงข่าวสาร การค้า การลงทุน มีความสนใจเรื่องของธุรกิจเอสเอ็มอี และแฟรนไช