#รีวิวหนังสือ เทคนิคเรียนเก่งด้วยกระดาษโน้ต ฉบับเด็กโทโด
สิ่งที่จะได้รับใน รีวิวหนังสือ เทคนิค เรียนเก่งด้วยกระดาษโน้ต ฉบับเด็กโทโด เล่มนี้ กระดาษโน้ตไม่ใช่แค่อุปกรณ์เครื่องเขียนแต่เปรียบเสมือน “คู่หู” ที่คอยสนับสนุนการแสดงออกทางความคิด จัดระเบียบและฝึกให้เจาะลึกลงรายละเอียด
- ลืมการท่องจำแบบเดิมๆ
- ลดความสะเพร่า
- จัดสรรเวลาได้อย่างดี
- พัฒนาทักษะการเขียน
- ระดมไอเดียได้ดีขึ้น
เขียน : ชิมิซุ อากิฮิโระ แปล : อนิษา เกมเผ่าพันธ์ ราคา 225 บาท จำนวน 146 หน้า
1. กระดาษโน้ตทำอะไรได้บ้าง?
1.ทำสัญลักษณ์ ใช้จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาด้วยสี หรือ ความยาวของปลายโน้ต
- จดบันทึกการอ่าน
- พจนานุกรมเสริมความรู้
2.กระตุ้นความคิด จดโน้ตไว้เยอะๆ แล้วค่อยเลือก ว่าโน้ตนี้นำมา ใช้ได้ หรือ ไม่ได้
- จำแนกคำอธิบาย
3.จัดระเบียบ เขียนออกมา > จัดกลุ่ม > จัดลำดับ
- เมตริกซ์ของการจัดสรรเวลา
4.จดบันทึก กระดาษโน้ตช่วยสร้างตารางจดบันทึกในแบบของตัวเอง
- จดข้อผิดพลาด
- จดคำศัพท์
- จดการอ่าน
2. ความสามารในการจำ
ประตูท่องจำ ช่วยทำให้การจดจำเป็นเรื่องสนุกประหนึ่งเล่นเกมแค่นำสิ่งที่อยากจดจำมาตั้งเป็นโจทย์คำถาม ติดไว้บนประตูหรือฝาตู้เย็นจากนั้น ห้ามเปิดประตูจนกว่าจะตอบโจทย์ได้ เก็บรวบรวมโจทย์ทั้งหมดและนำมาทบทวนทุกวันอาทิตย์ สิ่งสำคัญอันดับแรกคือ ต้องรู้จักคิดโจทย์คำถามด้วยตัวเอง และอย่าลืมว่า หลักพื้นฐานคือ “จำได้เมื่อไหร่ให้ดึงออก”
3. Input เก่งขึ้น
บันทึกการอ่าน Input เก่งขึ้น การอ่านพร้อมกับเขียนสิ่งที่ตัวเองคิดกำกับเอาไว้ต่างหากที่จะนำไปสู่การฝึกฝนทักษะการตีความและพลังความคิด
- อ่านพร้อมคิดตามว่า ต้องกลับมาทบทวนเรื่องใด
- ติดกระดาษโน้ตบนจุดที่ต้องการทบทวน
- เขียนข้อสังเกตไว้ด้านหลังปก
เพิ่มคลังคำศัพท์
- เตรียมพจนานุกรมและกระดาษโน้ต
- ค้นหา “คำศัพท์ที่รู้อยู่แล้ว” และติดกระดาษโน้ต
- ค้นหาคำศัพท์ที่อยากรู้
- กล่าวชม หรือขอให้ใครกล่าวชม
- ฝึกให้เป็นนิสัย
4. ลดความสะเพร่า
ลดความสะเพร่าด้วยการ “บันทึกจุดผิด” แค่เขียน “แนวโน้มความผิดพลาดและวิธีแก้ไข” ลงบนกระดาษโน้ตแล้วติดไว้ด้านหลังปกสมุดจด
- หาจุดผิดพลาด จากความสะเพร่า
- รวมคะแนนที่พลาด หาคะแนนที่ควรได้
- ค้นหาแนวโน้มข้อผิดพลาดของตัวเอง
- พิจารณาว่า “ต้องระวังเรื่องใดบ้าง”
- เขียนติดไว้ด้านหลังปกสมุดโน้ต
- ติดไว้บนประตูบ้านที่ความสูงระดับสายตา
- ติดไว้ในจุดที่มองเห็นได้ง่ายเมื่อเปิดกล่องดินสอ
- ติดไว้บนจุดสัมผัส เช่น ลูกบิดประตู
5.แบ่งเวลาได้ดียิ่งขึ้น
“เมตริกซ์ของการจัดสรรเวลา” มองเห็นสิ่งที่ต้องทำชัดเจนขึ้น!
- เขียนสิ่งที่ต้องทำลงบนกระดาษโน้ต
- สร้างเมตริกซ์ด้วยการลากเส้นแกนความสำคัญ
- จัดวางกระดาษโน้ตลงบนตำแหน่งทั้งสี่
- ดึงออกมาเรียงตามลำดับความสำคัญ
“ให้คำแนะตัวเองผ่านกระดาษโน้ต” รู้จักทบทวนตัวเองมากขึ้น
- เขียนจุดที่น่าชมเชยและจุดที่น่าตำหนิลงบนกระดาษโน้ต
- เขียนระบุว่าทำอย่างไรจำจะปฎิบัติได้ต่อเนื่อง หรือแก้ไขจุดบกพร่องได้
เรียบเรียงโดย : คุณปิยาพัชร ปกครอง (ปาร์มี่) อ้างอิงจาก https://bit.ly/3rb2oYV
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)