#รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์ มัดใจลูกค้า How to Do Content Marketing Right

สิ่งที่จะได้รับใน รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์ มัดใจลูกค้า How to Do Content Marketing Right หนังสือเล่มนี้ ก่อนสร้างคอนเทนต์เราต้องรู้ก่อนว่า คอนเทนต์คืออะไร? และช่วยการตลาดได้อย่างไร เมื่อเรามีพื้นฐานที่ดีพอ เราจะรู้และเข้าใจต่อไปว่า ต้องสร้างสรรค์คอนเทนต์ที่เหมาะสมกับสินค้า/บริการ ของเราอย่างไร เพื่อให้เกิดผลลัพธ์กับ กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ

รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์

รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์

รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์

ผู้เขียน ณัชพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง

จำนวน 246 หน้า
ราคา 255 บาท


1.คอนเทนต์คือ ?

รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์

  • คอนเทนต์ คือ ข้อมูลและเนื้อหา ที่มนุษย์เราสามารถรับได้ผ่านสื่อต่างๆ
  • มนุษย์เราล้วนอยากได้ข้อมูลต่างๆ เพื่อมาประกอบการใช้ชีวิตด้วยจุดประสงค์สำคัญ คือ การเลี่ยงปัญหาหรือภัยที่อาจจะเกิดขึ้นและทำให้ชีวิตดีขึ้น
  • ผู้ทำคอนเทนต์ต้องรู้จักแยกองค์ประกอบสำคัญของชิ้นงานคอนเทนต์ ได้แก่ ตัวเนื้อหาที่ต้องการจะสื่อ และรูปแบบการนำเสนอ ซึ่งสองสิ่งนี้ล้วนสำคัญ ขาดอันใดอันหนึ่งไม่ได้
  • คอนเทนต์ที่ดี คือ คอนเทนต์ที่สามารถนำพาให้ผู้ทำคอนเนต์บรรลุเป้าหมายที่ตัวเองตั้งไว้ได้
  • การประเมินคอนเทนต์ใดๆนั้นจำเป็นจะต้องเข้าใจด้วยว่าเป้าหมายของการทำคอนเทนต์นั้นคืออะไร
  • ผู้ทำคอนเทนต์ควรหมั่นสำรวจอยู่เสมอว่าวันนี้เรากำลังทำคอนเทนต์ที่เป็น “ปกติ” กับกลุ่มเป้าหมายของตัวอยู่หรือเปล่า

การสื่อสารแบบ Content Centric

การตั้งต้นว่า เนื้อหาสำคัญที่ต้องการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายนั้นคืออะไร แล้วดูว่าจะใช้สื่ออะไรที่สามารถเป็นตัวกลางพาคอนเทนต์นั้นไปถึงกลุ่มเป้าหมายได้

  • Facebook : Text / Link / Photo / Video
  • Twitter : Text / Link / Photo / Video
  • YouTube : Video
  • Instagram : Photo / Video
  • TikTok : Video
  • Website : Article

คอนเทนต์ที่ดีคืออะไร

ความต้องการที่จะสื่อสารคอนเทนต์ไปยังผู้รับ การสื่อสารนั้นก็เกิดขึ้นจากวัตถุประสงค์บางอย่างเป็นจุดตั้งต้น

  • ความต้องการที่แท้จริง > วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร > การทำคอนเทนต์

2.พลังสำคัญของคอนเทนต์

รีวิวหนังสือ สร้างคอนเทนต์

พลังสำคัญของคอนเทนต์ คือ การที่มันสามารถขับเคลื่อนให้ตัวมนุษย์เราเกิดการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่การรับรู้ข้อมูลใหม่ เปลี่ยนความรู้สึก เกิดความเชื่อ และนำไปสู่พฤติกรรมต่างๆ

เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว นักสื่อสารควรจะคิดและพิจารณากลไกของการสื่อสารนี้กับการสร้างคอนเทนต์ของตัวเองว่าเราต้องการอะไร จากคนที่รับสาร เราต้องการเปลี่ยนเขาไปทางไหนอย่างไร ซึ่งถ้าเราเห็นความเชื่อมโยงได้ชัดเจน ก็จะทำให้การสื่อสารนั้นมีความ “ชัด” ในตัวเอง และมีโอกาสเกิดประสิทธิภาพได้มาก

พยายามเลือกดูว่าอะไรคือข้อมูลและความเชื่อที่จำเป็นสำหรับการสื่อสาร และหากพบว่าอันไหนไม่จำเป็นแล้วก็ควรเลี่ยงที่จะเพิ่มเข้าไปในการสื่อสาร เพราะอาจจะทำให้กลายเป็นอุปสรรคในการสื่อสารแทน

การคิดเรื่องของคอนเทนต์นั้นสามารถเพลิกแพลงและกาตัวเลือกได้มากมายจากการเห็นความเชื่อมโยงไปยังความเชื่อที่หลากหลายและนั่นเป็นอีกเทคนิคหนึ่งในการคิดคอนเทนต์ให้หลากหลายได้

กล่อง 3 ใบ ของการจัดลำดับความสำคัญ

  1. ต้องทำ สิ่งที่จำเป็นต้องมี ไม่มีไม่ได้
  2. ควรทำ สิ่งไม่ถึงขั้นจำเป็น
  3. น่าทำสิ่งที่ไม่จำเป็น

การสร้าง Framework ง่ายๆ เพื่อใช้ในการออกแบบสารหรือคอนเทนต์

Communication Design Canvas

  • ข้อมูล/เรื่องราว > ความรู้สึก > ความเชื่อ > พฤติกรรม
  • เช่น ข่าวการระบาดของ Covid-19 > รู้สึกกลัว >
  • มีโอกาสติด COVID-19 ถ้าไม่ป้องกัน > ป้องกันตัวโดยการสวมใส่หน้าการอนามัย

3.การทำ Content Marketing

การทำ Content Marketing คือส่วนหนึ่งของการทำการตลาด Content Marketing สามารถเป็นได้ในทุกรูปแบบ ไม่ได้จำกัดอยู่ที่ต้องเป็นคอนเทนต์แบบดิจิทัลเท่านั้น

หัวใจสำคัญของ Content Marketing คือ การสร้างเนื้อหาต่างๆซึ่งสามารถเป็นคุณค่าร่วมกันระหว่างผู้สร้างคอนเทนต์กับตัวคนรับคอนรับคอนเทนต์ได้ ซึ่งผลจากการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพนี้จะเกิดเป็นผลประโยชน์ทางด้านการตลาดให้กับตัวผู้สร้างคอนเทนต์ได้นั่นเอง

คอนเทนต์ที่มีคุณค่าร่วม
ผู้ทำคอนเทนต์ ผู้รับคอนเทนต์
คุณค่าของผู้สื่อสาร “สิ่งที่อยากบอก”
คุณค่าของผู้รับสาร “สิ่งที่อยากฟัง”


4.ศึกษาและสังเกต

คนทำคอนเทนต์จึงควรหมั่นศึกษาและสังเกตการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดเหล่านี้อยู่เสมอ เช่น เดียวกับการฝึกฝนที่จะนำแนวคิดแต่ละอย่างมาเชื่อมโยงกันเพื่อสร้างสรรค์วิธีการนำเสนอคอนเทนต์ ที่มีประสิทธิภาพขึ้นได้อีกเรื่อยๆ

ปัจจัยที่ทำให้คนจำคอนเทนต์เราได้

  • บริบท
  • ความโดดเด่น
  • ความคุ้นเคย
  • แรงจูงใจ
  • คุณภาพ
  • ความยาว
  • ความถี่
  • ความประหลาดใจ

หลากเหตุผลที่คนแชร์ และบอกต่อคอนเทนต์ให้คนอื่น

  • สิทธิประโยชน์
  • คำแนะนำ
  • คำเตือน
  • บันเทิง
  • บันดาลใจ
  • น่าทึ่ง
  • รวมใจ

เรียบเรียงโดย : คุณปิยาพัชร ปกครอง (ปาร์มี่)

อ้างอิงจาก https://bit.ly/3BeWOGU

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise


8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์

1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์

  • กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
  • ชื่อกิจการ (Brand)
  • การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
  • การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
  • การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
  • การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
  • การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
  • การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
  • การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์

2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ

  • ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
  • ระบบการเงิน การบัญชี
  • งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
  • รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
  • ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ

3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
  • แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
  • สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
  • เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
  • มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
  • มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
  • ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี

4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์

  • กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
  • การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
  • สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
  • เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ

5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายแฟรนไชส์
  • ระบบการเงิน
  • ค่าธรรมเนียมต่างๆ
  • ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
  • การจดทะเบียนแฟรนไชส์
  • เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
  • ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
  • การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
  • การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
  • การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า

6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น

7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
  • พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
  • ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
  • การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
  • เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
  • จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์

8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์

  • การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
  • กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
  • การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
  • การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
  • กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
  • กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี

สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

กองบรรณาธิการเว็บไซต์

ยินดีสนับสนุน SMEs ไทยทุกแบรนด์ ที่ต้องการสร้างความเข้มแข็ง อยากเรียนรู้ พัฒนาธุรกิจ ส่งเสริมความเข้าใจในการตลาด มีความคิดสร้างสรรค์ แบ่งปันเพื่อสังคม ต่อยอดธุรกิจ ให้ประสบความสำเร็จในอนาคต