#รีวิวหนังสือ GEAR UP เคล็ดลับปรับกลยุทธ์ธุรกิจ
สิ่งที่จะได้รับใน รีวิวหนังสือ GEAR UP เคล็ดลับปรับกลยุทธ์ธุรกิจ หนังสือเล่มนี้จะให้กรอบความคิดในการสร้างส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งสำหรับการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จเป็นคู่มือช่วยประเมินศักยภาพธุรกิจให้คุณ คุณจะรู้ว่าไอเดียธุรกิจใหม่ของคุณมีค่าพอให้คุณเสียเวลาไปกับมัน หรือ คุณควรโละแผนทิ้งแล้วพัฒนาแผนใหม่
ผู้เขียน : Lena Ramfelt , Jonas Kjellberg , Tom Kosnik
แปล : พิษณุ พรหมจรรยา
ราคา 295 บาท
จำนวน 188 หน้า
1.ลูกค้า
คุณกำลังช่วยแก้ปัญหาให้กับลูกค้าหรือไม่
อะไรคือ “เหตุผลของการมีอยู่” ของบริษัทคุณ การจะตั้งบริษัทขึ้นมาสักบริษัทหนึ่ง บริษัทนั้นจะต้อง ช่วยแก้ปัญหาอะไรสักอย่าง ให้กับใครสักคน ลูกค้าส่วนใหญ่ แค่รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างไม่ถูกต้อง แต่ไม่สามารถบอกได้ชัดๆว่าอะไรที่จะทำให้เขามีความสุข
สื่อสารกับลูกค้าของคุณ วิธีการที่ดีที่สุด ที่จะระบุกลุ่มลูกค้าเป้าหมายและค้นให้พบปัญหา ที่แท้จริงของพวกเขา คือ การเฝ้าสังเกต เข้าไปมีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์กับพวกเขา
“ทำความเข้าใจกับปัญหา แล้วค่อยพัฒนาสินค้า”
2.ความปลาบปลิ้ม
อะไรคือความพิเศษของคุณ
คิดให้ไกลออกไปเพื่อหาสิ่งที่จะทำให้ ลูกค้าปลื้มสินค้าของคุณ ส่วนไหนของสินค้าคุณ ที่ทำให้ลูกค้าประทับใจ อะไรที่ทำให้สินค้าของคุณน่าสนใจ และแตกต่างจากของคู่แข่ง
ข้อสำคัญ คือ ลูกค้าต้องการให้สินค้าหรือบริการของคุณ ช่วยแก้ปัญหาให้กับพวกเขา!
ทุกตลาดในโลกจะต้องเจอกับการแข่งขันจาก สินค้าลอกเลียนแบบ ประเภท Me-Too แค่เรื่องของการ ใช้งาน และประสิทธิภาพ จึงยังไม่พอที่จะรักษาความสำเร็จของธุรกิจ
“คิดค้นนวัตกรรมใหม่ อย่าแค่ลอกเลียนแบบ”
3.การหาลูกค้า
ต้องปิดการขายเสมอ
ยิ่งคุณติดต่อกับลูกค้ามากเท่าไหร่ ก็จะยิ่งเพิ่มโอกาสในการขายของ ได้มากขึ้นเท่านั้น
หาลูกค้าที่มีแนวโน้มจะซื้อสินค้าของคุณมากที่สุด ใครที่คุณควรจะเข้าหา ยิ่งคุณหาได้ แม่นยำเท่าไหร่ ก็ยิ่งทำให้โอกาสที่พวกเขาจะเปลี่ยนสถานะมาเป็นลูกค้าได้ง่ายขึ้นเท่านั้น
คุณควรใช้ช่องทางการโปรโมทแบบใหม่ๆ เพื่อหาลูกค้าใหม่ๆ ลดต้นทุนการหาลูกค้า และทำให้การขายของคุณมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวยิ่งขึ้น ขายสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
“งานขาย ไม่ใช่แค่หาลูกค้า แต่ต้องรักษาลูกค้าเอาไว้ด้วย”
4.โมเดลธุรกิจ
การตั้งราคา
อิงตามต้นทุน ต้นทุนที่ใช้ในการ พัฒนา ผลิต และขายสินค้าของคุณ แล้วบวกส่วนต่าง เพื่อให้ครอบคลุมต้นทุนอื่นๆ ของบริษัท และกำไรที่คุณคิดว่าควรจะได้ ส่วนต่างที่บวกเข้ามา ควรอยู่ในระดับใกล้เคียงกับ บริษัทที่ทำธุรกิจใกล้เคียงกับคุณ
อิงตามคุณค่า ตั้งราคาตามที่คุณคิดว่าเหมาะสมกับ คุณค่า หรือ ประโยชน์ ที่ลูกค้าได้รับคุณต้องมั่นใจว่าการตั้งราคาของคุณ สอดคล้องกับโครงสร้างการขายสินค้า
“หาปัจจัยที่จะมีผลมากที่สุด ต่อความสำเร็จ”
5.พันธมิตร
ไม่มีบริษัทไหนอยู่ได้โดยลำพัง
การหาพันธมิตรที่ถูกต้องไม่ใช่เรื่องง่าย บางครั้งบริษัทที่มีศักยภาพ หรือมีชื่อเสียง ก็อาจจะไม่ใช่พันธมิตรที่ดีที่สุดสำหรับคุณ หนึ่งในสถานการณ์ที่ตัดสินใจยากที่สุดก็คือ การเจอพันธมิตรที่ถูกใจคุณ แต่ลูกค้าของพันธมิตรเกลียดบริษัทคุณ
หาพันธมิตรที่เหมาะสมกับคุณ คุณจะให้อะไร และคุณจะได้อะไรจากพันธมิตร ความไว้วางใจ และความคงเส้นคงวา เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างพันธมิตรที่ยืนยาว
“อยากเป็นพันธมิตรกับใคร ก็หาวิธีไปหาพวกเขา”
เรียบเรียงโดย : คุณปิยาพัชร ปกครอง (ปาร์มี่)
อ้างอิงจาก https://bit.ly/3DmEXzD
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์
1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์
- กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
- ชื่อกิจการ (Brand)
- การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
- การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
- การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
- การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
- การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
- การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
- การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์
2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ
- ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
- ระบบการเงิน การบัญชี
- งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
- รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
- ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
- กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ
3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์
- ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
- แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
- สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
- เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
- มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
- มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
- ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
- แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี
4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์
- กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
- การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
- สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
- การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
- เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ
5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายแฟรนไชส์
- ระบบการเงิน
- ค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
- การจดทะเบียนแฟรนไชส์
- เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
- ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
- การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
- แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
- การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
- การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า
6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น
7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
- พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
- ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
- การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
- เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
- จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์
8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์
- การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
- กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
- กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
- การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
- การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
- กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
- กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)