คนไทยต้องรู้ รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) Universal Basic Income นโยบายแจกเงินให้เปล่าทุกเดือน
เรื่องการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนในประเทศดูจะเป็นวาระแห่งชาติที่มีการพูดถึงกันมานานแสนนาน แนวคิดขัดแย้งต่างๆก็มีมากถึงขนาดที่หลายคนยกเอากรณีของต่างประเทศมาเปรียบเทียบกับคุณภาพชีวิตคนไทย
โดยเฉพาะเรื่องสวัสดิการแห่งรัฐที่คนส่วนใหญ่เชื่อว่าประเทศไทยยังทำได้ไม่ดีพอ ยิ่งมาเกิดภาวการณ์แพร่ระบาดโควิดในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาทำให้ แนวคิดเรื่องรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) Universal Basic Income หรือนโยบายแจกเงินเปล่าให้ประชาชนทุกเดือนอย่างถ้วนหน้าแบบไม่มีเงื่อนไขเป็นเรื่องที่ถูกพูดถึงมากขึ้น
แต่ www.ThaiSMEsCenter.com เชื่อว่านโยบายนี้อาจถูกนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการหาเสียงหากมีการเลือกตั้งในอนาคต แต่เอาเข้าจริงๆ นโยบายนี้ก็ต้องผ่านการศึกษาอีกมาก แม้ในบางประเทศจะเริ่มทดลองใช้นโยบายบ้างแล้ว แต่ข้อก็ยังไม่การันตีว่าจะเป็นนโยบายที่ใช้ได้จริง เพราะมีคำถามตามมามากมายว่า รัฐจะจัดหารายได้จากไหนเอามาจ่ายเงินส่วนนี้ และการจ่ายเงินเปล่าให้ทุกเดือนแบบนี้จะทำให้คุณภาพชีวิตของคนดีขึ้นได้จริงหรือ?
ทำไมรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) ถึงนำกลับมาพูดถึงอีกครั้ง?
ภาพจาก https://bit.ly/3ESzWil
แนวคิดและนโยบายสวัสดิการรายได้พื้นฐานถ้วนหน้าไม่ใช่เรื่องเกิดขึ้นใหม่แต่แนวคิดนี้มีมานานแล้ว แต่เพราะวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลกและการแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้แนวคิดนี้ถูกกลับมาพูดถึงในวงกว้าง จากเดิมที่มอง UBI ว่าเป็นนโยบายแก้ปัญหาเรื้อรังระยะยาว เช่นความยากจนและความเหลื่อมล้ำเท่านั้น
แต่สหประชาชาติออกมาเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ เร่งพิจารณาใช้ UBI ซึ่งรัฐบาลสเปนได้ผ่านโครงการ UBI ออกมาในช่วงกลางปี 2020 ซึ่งเร็วมาก และกำลังจะเป็นหนึ่งในโครงการ UBI ที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือจ่ายเงินเดือนละประมาณ 400-1,000 ยูโรให้คนในประเทศมากถึง850,000 คน
เอาอะไรเป็นเกณฑ์ว่าต่อเดือนควรจ่ายเงินเท่าไหร่
ภาพจาก www.freepik.com
รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI )คือการให้เงินรายเดือนแก่ประชาชนทุกคน โดยไม่มีเงื่อนไข เงินก้อนนี้มีค่าสูงกว่าเส้นความยากจน หรือระดับรายได้ที่เพียงพอต่อการดำรงชีพในประเทศนั้นๆ เป็นรายได้ที่ทำให้คนๆ หนึ่งสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ แต่เงินดังกล่าวไม่มากพอที่จะทำให้รวยโดยไม่ต้องทำงาน ซึ่งธนาคารโลกเคยประเมินว่าคนไทย 6.7 ล้านคน หรือราว 10% ของประชากร มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน (poverty line) ซึ่งกลุ่มนี้มีรายได้ขั้นต่ำอยู่ประมาณ 2,763 บาท/คน/เดือน
เท่ากับว่าถ้าประเมินจากเรื่องนี้ การจ่ายเงินแบบรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) ก็น่าจะประมาณคนละ 3,000 บาท/คน/เดือน อย่างไรก็ดีในทางกลับกันรายได้พื้นฐานถ้วนหน้าคือการให้เงินแก่ประชาชนไปทำอะไรก็ได้โดยไม่ต้องแจ้งหรือใช้คืนให้รัฐ นั่นหมายความว่า รัฐให้อิสรภาพแก่ประชาชนในระดับที่เพียงพอให้แต่ละคนแก้ไขปัญหาและใช้ชีวิตตามความฝันของตนเอง
เช่น ในเยอรมัน 3 ใน 4 ของผู้มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือสำหรับเด็กและผู้สูงอายุ เลือกที่จะรับเงินสดมากกว่าส่งเด็กหรือผู้สูงอายุไปอยู่ในความดูแลของพี่เลี้ยงหรือพยาบาล เพราะคนในครอบครัวสามารถดูแลเองได้ การให้เงินรายเดือนไปจัดการเองทำให้ประชาชนเอาเงินไปซื้ออาหารและของใช้จำเป็นสำหรับคนกลุ่มนี้แทน การแจกเงินจึงมีความยืดหยุ่นและแก้ปัญหาได้ตรงจุดกว่า
UBI เป็นนโยบายสวัสดิการที่ใครก็อยากได้ แต่ความจริงแล้วทำได้ยาก!
ภาพจาก www.freepik.com
เพราะการสรรหาเงินมาจ่ายนั้นมีจำนวนที่สูงมากพอนโยบายต้องใช้เงินมหาศาล สังคมก็จะกังวลว่านโยบาย UBI ต้องแลกมาด้วยอะไรบ้าง รัฐต้องขึ้นภาษีหรือเปล่า รัฐต้องไปตัดงบประมาณส่วนอื่นหรือเปล่า ต้องตัดสวัสดิการที่ประชาชนเคยได้หรือเปล่า
และอีกหลายประเทศมองว่าแนวคิดแบบ UBI ไม่เหมาะสมเพราะคนเราไม่ควรงอมืองอเท้ารอรับเงินจากรัฐ ต่ควรต้องขวนขวายด้วยตัวเอง แล้วมองความยากจนว่าความผิดของปัจเจกเอง ไม่ใช่เป็นผลจากสิ่งแวดล้อมและสังคม นอกจากนี้คนที่ไม่เห็นด้วยยังมองว่านโยบายนี้อาจทำให้สินค้ามีราคาแพงขึ้น คนทำงานน้อยลง รวมถึงอาจทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อได้อีกด้วย
มีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนที่จะเกิด รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) ในประเทศไทย?
ภาพจาก www.freepik.com
นโยบายรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (UBI) ยังไม่ได้เกิดขึ้นในประเทศไทย แต่เชื่อว่านโยบายนี้จะเป็นจริงได้หากเรามีระบบการเมืองที่แข็งแรงพอพรรคการเมืองร่วมกันผลักดันอย่างจริงจัง และเชื่อว่าคนส่วนใหญ่จะไม่ต่อต้านอุปสรรคหลักน่าจะมาจากชนชั้นนำในภาคธุรกิจและราชการ เพราะการจัดหางบประมาณที่อาจนำไปสู่การเพิ่มภาษี ซึ่งก็จะกระทบคนรวย หรืออาจต้องตัดงบประมาณส่วนอื่นๆ ซึ่งก็จะกระทบราชการ
นอกจากนี้หากต้องการให้เกิดนโยบายนี้เกิดขึ้นในประเทศต้องทำให้คนมองว่าเป็นสวัสดิการถ้วนหน้าสำหรับพลเมืองทุกคน ต้องพยายามไม่ตั้งเงื่อนไขในการรับสวัสดิการ เหมือนกับสวัสดิการอื่นๆที่มี เช่น โครงการคนละครึ่งที่มีกำหนดเวลาในการใช้จ่าย กำหนดยอดเงินใช้ขั้นต่ำต่อวัน , หรือสวัสดิการค่าเลี้ยงดูบุตรที่กำหนดอายุขั้นต่ำ จำนวนบุตร เป็นต้น
ซึ่งการตั้งเงื่อนไขแบบนี้จะทำให้นโยบายเสียภาพความเป็นสิทธิ เพราะถ้าอะไรเป็นสิทธิ คนย่อมต้องได้เท่าเทียมกันโดยไม่มีเงื่อนไข
ภาพจาก www.freepik.com
สิ่งที่ยังกังวลตามมาอีกก็คือถ้าเรามีเงินเข้ามาง่ายๆ ในทุกเดือนโดยไม่ต้องทำงานจะก่อให้เกิดปัญหาสังคมอะไรบ้างมีผลการศึกษานโยบายนี้จากประเทศเคนยาที่ระบุว่าถ้าจ่ายเงินน้อยแต่ถี่ คนจะนำเงินไปซื้ออาหารเพราะเงินก้อนไม่ใหญ่พอซื้อสิ่งของขนาดใหญ่ แต่ถ้าจ่ายเงินไม่ถี่แต่จ่ายก้อนใหญ่ คนจะนำเงินไปซื้อสินค้าคงทนต่างๆ และสิ่งของเครื่องใช้ที่ยกระดับคุณภาพชีวิตได้
ในบางประเทศผลการศึกษาบอกว่าคนใช้เงิน UBI ไปซื้ออุปกรณ์ทำไร่ทำนา บางประเทศที่คนต้องย้ายถิ่นฐานเพื่อหาที่เพาะปลูกพืชใหม่เรื่อยๆ ตามสภาพอากาศ เงินจากโครงการ UBI ช่วยให้เขาไม่ต้องย้ายถิ่นฐานทุกปี ช่วยให้เขารอเพาะปลูกในพื้นที่เดิมในปีหน้าได้ ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการย้ายไปที่ใหม่ได้ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่าคนแต่ละพื้นที่ใช้เงิน UBI เพื่อตอบโจทย์ชีวิตตัวเอง ซึ่งหลากหลายเกินกว่าที่ผู้วางนโยบายจะคิดแทนได้หมด
สำหรับประเทศไทยก็มีรายละเอียดปลีกย่อยที่แตกต่างจากต่างประเทศถ้ามีนโยบายแบบ UBI เชื่อว่าคนไทยส่วนใหญ่เห็นด้วยแต่แนวคิดนี้ก็ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ในระยะเวลาอันสั้นโดยเฉพาะหากสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่ชัดเจนและปัญหาความแตกแยกในสังคมไทยที่ดูเป็นเรื่องควรแก้ไขเร่งด่วนยิ่งกว่า
ขอบคุณข้อมูล https://bit.ly/3BJLQJ9 , https://bit.ly/3nZhVb2 , https://bit.ly/3wfXLNC , https://bit.ly/3EGY8nr
อ้างอิงจาก https://bit.ly/3wqzPHE
อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์
1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์
- กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
- ชื่อกิจการ (Brand)
- การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
- การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
- การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
- การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
- การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
- การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
- การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์
2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ
- ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
- ระบบการเงิน การบัญชี
- งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
- รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
- ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
- กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ
3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์
- ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
- แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
- สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
- เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
- มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
- มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
- ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
- แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี
4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์
- กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
- การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
- สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
- การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
- เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ
5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายแฟรนไชส์
- ระบบการเงิน
- ค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
- การจดทะเบียนแฟรนไชส์
- เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
- ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
- การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
- แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
- การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
- การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า
6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น
7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
- พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
- ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
- การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
- เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
- จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์
8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์
- การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
- กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
- กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
- การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
- การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
- กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
- กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)