“การตลาดสายตาสั้น” (ตอนที่ 3) โดย สุรวงศ์ วัฒนกูล
คิวสองแถว เคยติดเชื้อ “การตลาดสายตาสั้น ตอนที่ 3 ” ค่าบริการคนละ 10 บาท ป้ามีตังค์เหลือแค่ 8 บาท ก็พูดห้วนเหมือนตวาดไม่รับป้าขึ้นรถ ผมเคยนั่งรถสองแถววิ่งไปเพียงสามป้ายก็มีอีกคันขับตามหลังแซงมาทุบหลังคารถด้วยข้อหาว่าซิ่งตัดหน้าแย่งลูกค้าตกใจกันทั้งคันวันต่อมาผู้โดยสารก็เปลี่ยนใจไปยืนรอรถเมล์จะดีกว่าเมื่อปี 2554 ก็มีวิกฤตน้ำท่วม ทหารชั้นผู้น้อยถอยรถ GMC ออกมาตามคำสั่งให้ขับมารับส่งชาวบ้านฟรี
คิวสองแถวอารมณ์ไม่ดีหาว่ามาปาดหน้าเค้กทำให้รายได้หดจึงรุมกันขว้างรถทหารชาวบ้านก็หันมาเคืองสองแถวเพราะฉวยโอกาสคิดราคาแพงกว่าปกติลิบลับ ไม่ปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นเช่นนี้กันทุกคิวทุกคนแต่เวลาชาวบ้านรุมกันบ่นเขาจะเรียกรวมๆว่าไอ้พวกสองแถวแล้วใครจะช่วยแก้ข่าวให้ล่ะทีนี้
ปักหมุดกันอีกทีว่า อาการ “การตลาดสายตาสั้น” (Marketing Myopia) จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ขาย ผู้ให้บริการ มัวแต่เน้นการขายมากกว่าการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ท่านใดที่สั่งซื้อ “โต๊ะวางของ” กับตลาดออนไลน์กันไหม แมสเซนเจอร์เอาของมาส่งให้มันกลายเป็น “โต๊ะวางโชว์” อย่ามาบอกว่า ราคาไม่กี่ตังค์จะผิดหวังอะไรกันนักหนา ไอ้ที่ควักจ่ายไม่ได้ทำให้ลูกค้าล้มละลายก็ใช่อยู่ ถ้านักขายเคยได้ดู แมวที่โกรธแล้วงอน มะนุดทาส ว่า มาอำให้เรางับปลาทูปลอมทำไม? มันเคืองคล้ายๆทำนองนั้นแต่แรงกว่านั้นเลยแหละ
“อย่าสำคัญผิดว่า เป้าหมายทางการตลาดระยะสั้น สำคัญมากกว่า เป้าหมายระยะยาว!”
Marketing Myopia ที่ ศาสตราจารย์ Theodore Levitt นำเสนอ ได้รับรางวัล McKinsey Awards ว่าเป็นบทความประจำปีดีที่สุด 4 รางวัล “การตลาดสายตาสั้น” เป็น 1 ใน 4 ของ ผลงานปัญญาภิวัฒน์ทางด้านการตลาด
GURU Aashish Pahwa ประมาณการ การตลาดสายตาสั้น ในโลกอนาคต เอาไว้ว่าถ้าธุรกิจอันทรงคุณค่า 2 วงศ์ กับอีก 1 องค์แอป ไม่รีบตรวจสอบและปรับตัว หัวอาจจะร้อนๆหนาวๆในไม่ช้าเครื่องซักแห้ง เส้นใยและสารเคมีชนิดใหม่จะส่งผลให้ความต้องการเครื่องซักแห้งลดลงร้านขายของชำ การเปลี่ยนแปลงสู่ไลฟ์สไตล์ดิจิทัลจะทำให้ร้านขายของชำหายไป
Facebook ธำรงด้วย GDPR กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ สหภาพยุโรป และ กฎความเป็นส่วนตัวของข้อมูลใหม่ ถ้าไม่เปลี่ยนรูปแบบธุรกิจหรืออาจสูญเสียส่วนแบ่งตลาดโซเชียลมีเดียไปยังแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียอื่นที่เน้นความเป็นส่วนตัว ระวังจะค้ำยันตัวเองไม่ทัน
มุมมองของผม ผมถือว่าเป็นการส่งสัญญาณเตือนใจทั้ง SME และ บริษัทระดับยักษ์ ให้รู้จักถนอมตัว ถนอมบริษัท ด้วยการ ถนอมวิธีการ กับ ถนอมลูกค้า ผลดีโดยรวมจะก่อตัวขึ้นเป็น “การถนอมการตลาด”
ถ้าเราเข้าถึงนัยได้ลึกขนาดนี้มีหรือที่เราจะไม่เอาคำแนะนำมาทำเป็นแว่นสายตามาสวมมองการณ์ไกลให้ชัดแจ๋ว ผมว่า ท่าน Theodore Levitt ควรจะได้รับ Nice Marketing War Room อีกหนึ่งรางวัล
วิทยากร : ดร.สุรวงศ์ วัฒนกูล
การตลาดสายตาสั้น
- การตลาดสายตาสั้น หลักประเมินตัวตนไว้ให้พิจารณา 4 ประเด็น (ตอนที่ 1) – https://bit.ly/3SXXxoy
- “การตลาดสายตาสั้น” (ตอนที่ 2) โดย สุรวงศ์ วัฒนกูล – https://bit.ly/3Ehkn6B
- “การตลาดสายตาสั้น” (ตอนที่ 3) โดย สุรวงศ์ วัฒนกูล – https://bit.ly/3rw9GWf
- “การตลาดสายตาสั้น” (ตอนที่ 4) โดย สุรวงศ์ วัฒนกูล – https://bit.ly/3EeL2Rp
อ้างอิงจาก https://bit.ly/3C1Nubs
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)