99 ไอเดีย เด็ด! ทำเงินเจ็ดหลัก ตลอดปี

พฤติกรรมของคนในยุคออนไลน์เน้นความสะดวก รวดเร็วมากขึ้น สอดคล้องกับตัวเลขที่พบว่าทั่วโลกมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า 5.27 พันล้านคน คิดเป็น 67% ของประชากรโลก และมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้น 2.3% ในปีที่ผ่านมา หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 117 ล้านหรือเฉลี่ยว่ามีผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือรายใหม่ประมาณ 10 ล้านคนต่อเดือน

สิ่งเหล่านี้ www.ThaiSMEsCenter.com มองว่าสะท้อนภาพรวมการเติบโตของธุรกิจออนไลน์ได้ชัดเจน ไม่น่าแปลกใจที่ทุกวันนี้เราจะเห็นคนส่วนใหญ่ต้องการสร้างรายได้จากโลกออนไลน์มากขึ้น ซึ่งก็มีหลากหลายวิธีและหลายรูปแบบในการสร้างรายได้ ลองไปดูวิธีต่างๆที่เราได้รวบรวมมาแยกย่อยเป็นหมวดหมู่รวมแล้วกว่า 99 ไอเดีย ผู้สนใจสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตัวเองได้ตามต้องการ

การขาย

99 ไอเดีย

  1. ขายของบน Shopee
  2. การขายสินค้าแบบ Dropship (ไม่ต้องสต็อคสินค้า)
  3. ตัวแทนขายสินค้า
  4. ขายอาหาร
  5. ขายเครื่องดื่ม
  6. ไลฟ์ขายงานHandmade
  7. รับสินค้าจากจีนมาขาย
  8. ไลฟ์ขายสินค้ามือสอง
  9. ขายรถมือสอง
  10. ขายสินค้าบน Amazon
  11. ปลูกผักขาย
  12. ไลฟ์สดขายของบน TikTok
  13. ขายอุปกรณ์ IT
  14. ทำขนมขาย
  15. เพาะสัตว์เลี้ยงขาย
  16. ปลูกต้นไม้ขาย

การลงทุน

wedfds56a988989

  1. เทรดคริปโตเคอร์เรนซี (Cryptocurrency)
  2. เทรดหุ้น
  3. ขุดบิสคอยน์ (Bitcoin)
  4. ขายงานศิลปะ NFT
  5. ผู้นำแนะโบรกเกอร์

ศิลปะและความสามารถพิเศษ

asdsas569889026566565698898989

  1. รับจ้างแปลภาษา
  2. รับงานออกแบบกราฟฟิคดีไซน์
  3. เปิดช่อง Youtube
  4. หารายได้จาก TikTok
  5. เขียน E-Book
  6. วาดภาพขายบน Canva
  7. รับตัดต่อวีดีโอ
  8. แต่งนิยายขาย
  9. ทำเพลง ทำดนตรี
  10. ทำสติ๊กเกอร์ไลน์ขาย
  11. รับจ้างเขียนบทความ
  12. Video Creator บน Facebook
  13. Podcast
  14. สร้างรายได้จาก Blockdit
  15. ออกแบบเสื้อ Teespring
  16. รีวิวสินค้าต่างๆ
  17. ทำอินโฟกราฟฟิคขาย
  18. รับจ้างทำงานวิจัย
  19. ขายภาพถ่าย ภาพเวกเตอร์ และคลิปวีดีโอ
  20. ขาย Preset Lightroom
  21. สกรีนเสื้อยืดขาย
  22. วีเจ บน Bigo Live
  23. Blogger
  24. Prin On Demand (POD)
  25. ทำคลิปวีดีโอขาย
  26. ต่อเลโก้ขาย
  27. ขายเสียง (สำหรับใช้ในคลิปวีดีโอ)

การศึกษา/คอร์สเรียน

sdcfdsa5689565601

  1. เปิดสอนคอร์สเรียนออนไลน์
  2. สอนพิเศษผ่าน Zoom และ Google Meet
  3. รับจ้างสอนแต่งหน้า
  4. สอนเต้น คอร์สลดน้ำหนัก
  5. สอนวิธีการทำอาหาร
  6. สอนการวาดรูปและงานศิลปะ
  7. การเป็นไลฟ์โค้ช
  8. สอนเทคนิคการหารายได้พิเศษ
  9. สอนเทคนิคการติดตั้งซอฟแวร์และแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
  10. คอร์สเรียนเรื่องการลงทุนต่างๆ

สินค้าด้านไอทีและเทคโนโลยี

sss6598a56a89898989

  1. Affiliate แปะลิงค์ช่วยขาย
  2. ทำ Website หารายได้
  3. พัฒนาApplication
  4. สตรีมเมอร์
  5. รับจ้างเขียนโค้ดและทำเว็บไซต์
  6. ซื้อขายโดเมนเนม
  7. ขายไอเท็มในเกมยอดฮิต

การตลาดและธุรกิจ

 sdcfvfcds0a2369899889

  1. เป็นที่ปรึกษาออนไลน์ให้กับธุรกิจ
  2. บริการทำ Marketing
  3. Influencer บน Instagram
  4. รับจ้างยิงแอด Facebook
  5. รีวิวธุรกิจร้านค้า ร้านอาหาร

สินค้าบริการ

wdfvcfs5a9855656

  1. เป็นนายหน้าอสังหาริมทรัพย์
  2. ตัวแทนประกัน
  3. ธุรกิจจัดหาคู่
  4. นักวางแผนการเงิน
  5. Admine Social Media
  6. รับจ้างทำแบบสอบถาม
  7. เปิดห้องให้เช่า Airbnb
  8. รับทำบัญชี
  9. รับจ้างเพิ่มยอดผู้เข้าชม
  10. รับงานโหลมาทำที่บ้าน
  11. รับจ้างทำความสะอาดบ้าน
  12. บริการซ่อมรถทั้งในและนอกสถานที่
  13. รับจ้างล้างแอร์
  14. รับจ้างงานทั่วไป
  15. รับจ้างหิ้วของ/สินค้า
  16. รับจ้างคีย์ข้อมูล
  17. รับจ้างดูดวงจากไพ่
  18. รถรับจ้างบริการ
  19. ให้เช่ารถยนต์
  20. รับจ้างนวดเพื่อสุขภาพ

การสร้างธุรกิจออนไลน์จาก 99 ไอเดียที่รวบรวมมาดังกล่าว เป็นเพียงจุดเริ่มต้นซึ่งแต่ละงานก็มีรายละเอียดที่แยกย่อยลงไป รวมถึงต้องมีเคล็ดลับและวิธีที่ต้องศึกษาให้ละเอียดเพื่อให้การทำธุรกิจออนไลน์สามารถสร้างรายได้ตามที่ต้องการ ซึ่งหากประสบความสำเร็จ จะสามารถสร้างรายได้มหาศาลอาจถึงขึ้น 7 หลักต่อปีได้เลยทีเดียว และมีหลายคนที่ประสบความสำเร็จจากธุรกิจออนไลน์เหล่านี้ ซึ่งคนที่สนใจสามารถใช้เป็นกรณีศึกษาและเรียนรู้นำมาปรับใช้กับการสร้างธุรกิจออนไลน์ให้กับตัวเองได้

อ้างอิงจาก https://bit.ly/3zI2qds

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise


8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์

1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์

  • กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
  • ชื่อกิจการ (Brand)
  • การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
  • การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
  • การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
  • การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
  • การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
  • การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
  • การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์

2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ

  • ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
  • ระบบการเงิน การบัญชี
  • งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
  • รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
  • ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ

3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
  • แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
  • สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
  • เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
  • มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
  • มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
  • ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี

4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์

  • กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
  • การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
  • สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
  • เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ

5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายแฟรนไชส์
  • ระบบการเงิน
  • ค่าธรรมเนียมต่างๆ
  • ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
  • การจดทะเบียนแฟรนไชส์
  • เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
  • ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
  • การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
  • การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
  • การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า

6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น

7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
  • พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
  • ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
  • การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
  • เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
  • จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์

8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์

  • การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
  • กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
  • การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
  • การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
  • กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
  • กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี

สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

คุณรัตนชัย ม่วงงาม (เปี๊ยก)

เรียนจบจากคณะนิเทศศาสตร์ ทำงานในด้านวารสารมากว่า10ปี สะสมความรู้หลากหลายแนวทั้งด้านการเกษตร สังคม สู่การประยุกต์เป็นอาชีพทั้ง SMEs และแฟรนไชส์รวมถึงแนวทางด้านกลยุทธ์การตลาดต่างๆ การเขียนคืองานที่เราตั้งใจและใจรักมากที่สุด