เทียบฟอร์ม 6 ปั้มน้ำมันในประเทศไทย ใครแรงกว่ากัน
เชื่อหรือไม่ว่าในปี 2566 ตลาดสมรภูมิปั้มน้ำมันในประเทศไทยจะแข่งขันกันอย่างดุเดือดแน่นอน หลังจากที่ “บางจาก” ซื้อหุ้นปั้มน้ำมัน “เอสโซ่” ที่มีสถานีกว่า 800 แห่งทั่วประเทศ ด้วยเม็ดเงินกว่า 5.5 หมื่นล้านบาท ขณะที่ปั้มน้ำมันแบรนด์อื่นๆ ต่างเดินหน้าเสริมแกร่งธุรกิจ Non-Oil เพื่อก้าวสู่เบอร์ต้นๆ เช่นเดียวกัน
ถ้าถามว่าในตอนนี้ขุมพละกำลังของแต่ละแบรนด์ ปั้มน้ำมันในประเทศไทย เจ้าไหนแข็งแกร่งและมีรายได้มากกว่ากัน วันนี้ www.ThaiSMEsCenter.com จะนำเสนอให้ทราบ
ปตท.
ภาพจาก https://bit.ly/412VX9l
- บริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน)
- 2,391 แห่ง
- ปี 2565 รายได้ 277,986 ล้านบาท กำไร 10,370 ล้านบาท
- สโลแกน PTT Station เติมพลังความสุข
- โทร. 02-196-5959
พีที
ภาพจาก https://bit.ly/3KtwQFW
- บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จำกัด (มหาชน)
- 2,229 แห่ง
- ปี 2565 รายได้ 179,422 ล้านบาท กำไร 12,008 ล้านบาท
- สโลแกน เต็มที่ เต็มพลัง
- โทร. 02-168 3377-88
บางจาก
ภาพจาก https://bit.ly/41kJA8r
- บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
- 1,343 แห่ง
- ปี 2565 รายได้ 312,202 ล้านบาท กำไร 46,269 ล้านบาท
- สโลแกน Your Greenovative Destination
- โทร. 1651
เอสโซ่
ภาพจาก https://bit.ly/2m6P2gZ
- บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน
- 802 แห่ง
- ปี 2565 รายได้ 259,847 ล้านบาท กำไร 9,509 ล้านบาท
- สโลแกน เอสโซ่ เติมความอุ่นใจ เต็มถัง
- โทร. 02-4074000
เชลล์
ภาพจาก https://bit.ly/3UuBcRC
- บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด
- 697 แห่ง
- ปี 2565 รายได้ 101,303 ล้านบาท กำไร 28,594 ล้านบาท
- สโลแกน สัมผัสถึงพลังทุกครั้งที่ัขับ
- โทร. 02-262-6000
คาลเท็กซ์
ภาพจาก https://bit.ly/43oMmvf
- บริษัท เชฟรอน (ไทย) จำกัด
- 443 แห่ง
รายได้ – - สโลแกน เติมสุขทุกเส้นทาง
- โทร. 02-081-4123
รู้หรือไม่ว่า!
จำนวนสถานีบริการน้ำมันในประเทศไทย ณ สิ้นปี 2565 มีจำนวนทั้งสิ้น 27,993 แห่ง ลดลง 874 แห่งจากปี 2564 คิดเป็น 3.0% จากการแพร่ระบาดโควิด-19 ทำให้ผู้ประกอบการรายย่อยปิดตัวลง
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
ต้องการข้อมูลข่าวสาร ต้องการอัพเดทข้อมูลการตลาด หรือแนวทางการทำธุรกิจติดตามได้ที่ https://bit.ly/335phDi
รับฟังบทความต่างๆ ผ่านทาง PodCast ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ https://soundcloud.com/thaifranchisecenter
ข้อมูลอ้างอิงจาก : กรมธุรกิจพลังงาน ,รายงานประจำปีของแต่ละบริษัท
อ้างอิงจาก คลิกที่นี่
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)