สินค้าขายขาด vs สินค้าฝากขาย! อะไรดีกว่ากัน?
สมัยนี้ใครๆ ก็อยากมีธุรกิจของตัวเอง จุดเริ่มต้นสำคัญก็คือการเป็นพ่อค้าแม่ค้าที่ต้องหาสินค้ามาขาย แต่ก็ใช่ว่าคิดแล้วจะทำได้ทันที การขายในยุคนี้ก็ต้องเข้าใจตลาด เข้าใจความต้องการลูกค้า ต้องมีกลยุทธ์การตลาดที่ดี ไม่นับรวมที่บางคนทุนน้อย ไม่มีทำเลการขายที่ดี
คำถามคือมีวิธีการขายแบบไหนที่น่าสนใจบ้าง สิ่งที่ www.ThaiSMEsCenter.com มองเห็นชัดเจนคือคนส่วนใหญ่เลือกใช้การขายอยู่ 2 แบบคือ “ขายขาด” และ “ฝากขาย” ลองมาดูกันว่าทั้ง 2 วิธีนี้มีอะไรที่แตกต่างและแต่ละวิธีนั้นเหมาะกับใครอย่างไรบ้าง
อะไรคือสินค้าขายขาด?
สินค้ากลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มสินค้าที่ลูกค้าซื้อครั้งเดียวและอายุการใช้งานนาน กว่าจะกลับมาซื้อซ้ำอีกครั้งอาจจะใช้เวลาอีกหลายปี เช่น เฟอร์นิเจอร์ของตกแต่งบ้าน ชุดเครื่องนอน อุปกรณ์ทำความสะอาด อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเป็นสินค้าแบบใช้ได้นาน เช่น เป้สะพาย กระเป๋าเดินทาง ปัจจุบันคนทำธุรกิจที่ขายสินค้ากลุ่มนี้ทางออนไลน์ก็มีเป็นจำนวนมากและเป็นวิธีการขายที่เห็นได้มากที่สุด
อะไรคือสินค้าฝากขาย?
ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่า “ฝากขาย” กับ “ขายฝาก” มีความต่างกัน เพราะการขายฝากเป็นการทำนิติกรรมกู้ยืมเงินอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นการทำสัญญาระหว่างผู้ขายฝาก (ลูกหนี้) กับผู้รับขายฝาก (เจ้าหนี้) แต่การฝากขายคือการที่ผู้ฝากขาย (เจ้าของทรัพย์สิน) ให้ผู้รับฝากขาย (ตัวแทนนายหน้า) ช่วยขายทรัพย์สินแทน โดยได้ค่าตอบแทนเป็นกำไรจากผู้ฝากขาย
แต่รูปแบบของการขายสินค้าทั่วไปจะใช้คำว่า “ฝากขาย” หมายถึงเราในฐานะเจ้าของสินค้าตระเวนหาร้านค้าที่น่าสนใจและนำเสนอสินค้าให้ “วางขาย” ภายในร้าน โดยทางร้านจะได้รับผลประโยชน์ (คอมมิชชั่น) จากการขาย หรืออาจมีรายได้จากส่วนอื่นๆ ตามที่ตกลงกับเจ้าของสินค้านั้นๆ
ข้อดีข้อเสียของการ “ขายขาด”
- สินค้าขายขาดส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีกำลังซื้อสูง สามารถขายครั้งเดียวแต่ได้กำไรสูง เช่น ทองคำ , บ้าน , รถยนต์ , เฟอร์นิเจอร์ , เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เป็นต้น
- เจ้าของสินค้าสามารถทำการตลาดเพื่อค้าขายสินค้าได้อย่างเต็มที่
- ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่มีจุดเด่นในตัวเองชัดเจน เป็นสินค้าที่สามารถต่อยอดและพัฒนาให้ดียิ่งๆขึ้นได้ในอนาคต
- การขายขาดทำให้สามารถเช็คจำนวนสินค้า / ความต้องการของลูกค้าได้ง่ายกว่า
- การขายขาดต้องใช้ต้นทุนในการบริหารจัดการที่มากกว่าการฝากขาย
ข้อดีข้อเสียของการ “ฝากขาย”
- ได้ทำเลขายสินค้าที่เหมาะกับกลุ่มลูกค้า เพราะมีตัวเลือกในการวางสินค้าเยอะ เช่น ต้องการวางขายอาหารเสริม ก็มีร้านขายยาจำนวนมากที่รับฝากวางสินค้า และค่อนข้างยืดหยุ่นในการเปลี่ยนสถานที่จำหน่าย
- เป็นการเพิ่มช่องทางการขาย และสามารถขยายตลาดให้ลูกค้ามีโอกาสเห็นสินค้าได้มากขึ้น โดยไม่ต้องลงทุนเปิดสาขาเพิ่ม
- ราคาสินค้าเป็นมาตรฐาน การฝากขายเราจะเป็นผู้กำหนดราคาขายและเงื่อนไขการขายเอง อีกทั้งยังควบคุมได้ง่าย เพราะรู้ว่าสินค้าถูกขายอยู่ที่ใดบ้าง ร้านไหนขายเกินราคาหรือตัดราคาร้านอื่น เราก็มีสิทธิ์ที่จะเรียกเก็บสินค้าคืนได้
- ลดความเสี่ยงในด้านค่าใช้จ่าย เพราะร้านค้าที่รับฝากส่วนใหญ่จะเก็บเป็นค่าคอมมิชชั่นจากการขายสินค้า ดังนั้น ถ้าขายได้น้อยก็เสียค่าคอมมิชชั่นน้อย ไม่เหมือนกับการของหน้าร้านที่มีค่าใช้จ่ายคงที่ทุกเดือน แม้ว่าเราจะขายได้หรือไม่ได้ก็ตามที
- แต่ข้อเสียของการฝากขายคือบางร้านอาจเก็บค่าคอมมิชชั่นแพง ทำให้เราได้กำไรจากการขายไม่มากนัก หรือบางร้านที่มีการรับ ฝากขายสินค้า ชนิดเดียวกันหลายๆ แบรนด์ สินค้าแบรนด์ไหนให้ค่าคอมมิชชั่นดีกว่า พนักงานก็มีสิทธิ์ที่จะเร่งขายสินค้าแบรนด์นั้นมากกว่า ทำให้เป็นการตัดกำไรกันเอง
- การขายฝากทำให้เช็คสต็อกสินค้าได้ยากกว่า เพราะส่วนใหญ่สินค้ากระจายไปในหลายร้าน ยิ่งถ้าเป็นการฝากขายสินค้าที่มีวันหมดอายุ เช่น ขนมเค้ก ขนมปัง ถ้าของเหลือมาก ๆ ก็อาจจะขาดทุนได้เหมือนกัน
ทั้งนี้หากพิจารณาในแง่ของต้นทุน รูปแบบการขาย ต้องยอมรับว่า “การขายฝาก” นั้นสะดวกและง่ายกว่า บางทีเราอาจไม่ต้องมีสินค้าเองแต่ไปติดต่อรับสินค้าจากเจ้าของสินค้าอีกที และไปติดต่อหาร้านเพื่อ “ฝากขาย” แต่วิธีนี้ก็ต้องมีการบริหารจัดการที่ดีรวมถึงมีรายละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างมากพอสมควร
แต่สำหรับการ “ขายขาด” เป็นรูปแบบที่ชัดเจนและบริหารจัดการง่ายกว่า เพียงแต่อาจต้องใช้ต้นทุนที่มากกว่า สินต้องมีความเฉพาะและน่าสนใจ แต่ในระยะยาวก็มีโอกาสที่จะพัฒนาธุรกิจและสินค้าตัวเองให้ดียิ่งกว่าเดิมได้ง่าย ซึ่งการจะเลือกขายฝาก หรือขายขาดในสินค้าใดๆ ก็อยู่ที่ความเหมาะสมของเราเองเป็นสำคัญ แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือคุณภาพสินค้าที่ต้องดีและต้องประทับใจลูกค้าด้วย
ขอบคุณข้อมูล https://bit.ly/3Qqj9cx , https://bit.ly/3JWg1CF , https://bit.ly/3dkxKaE , https://bit.ly/3Qr6jKT , https://bit.ly/3QKGJjM
อ้างอิงจาก https://bit.ly/3JWQZ6l
ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise
- อยากสร้างแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Ive14C
- อยากทำเป็นแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3IrrH0k
- รู้เรื่องกฎหมาย สัญญาแฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Iu5WNu
- รวมความรู้แฟรนไชส์ > https://bit.ly/3Pe0m5s
8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์
1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์
- กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
- ชื่อกิจการ (Brand)
- การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
- การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
- การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
- การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
- การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
- การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
- การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์
2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ
- ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
- ระบบการเงิน การบัญชี
- งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
- รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
- ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
- แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
- กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ
3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์
- ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
- แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
- สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
- เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
- มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
- มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
- ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
- แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี
4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์
- กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
- การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
- สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
- การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
- เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ
5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายแฟรนไชส์
- ระบบการเงิน
- ค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
- การจดทะเบียนแฟรนไชส์
- เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
- ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
- การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
- แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
- การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
- การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า
6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น
7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
- พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
- ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
- การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
- เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
- จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์
8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์
- การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
- กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
- กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
- การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
- การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
- กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
- กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี
สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น
ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี
ลักษณะงาน
- เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
- ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
- มอบหมายงานและติดตามงาน
- อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ
1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้
- ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
- ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
- การปฏิบัติงาน
- เป้าหมายในอนาคต
2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ
- การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
- การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
- การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
- การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)
3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)
- การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
- สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
- กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
- มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม
4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ
- แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
- แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์
- รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
- ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
- ปรับปรุงแก้ไข
- พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง
การปฎิบัติงาน
- สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
- ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา
เงื่อนไขอื่นๆ
- การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์
อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้
สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)