#รีวิวหนังสือ คัมภีร์เริ่มต้นธุรกิจร้านอาหาร (Restaurant Bible)

สิ่งที่จะได้รับใน รีวิวหนังสือ คัมภีร์ เริ่มต้นธุรกิจร้านอาหาร (Restaurant Bible) เล่มนี้ ธุรกิจร้านอาหารถือเป็นธุรกิจที่มีอัตราเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่กว่า 70% ล้มเลิกไปตั้งแต่ปีแรกและเกือบ 20% เลิกกิจการภายใน 3-5 ปี นั่นหมายถึงมีร้านอาหารไม่ถึง 10% ที่สามารถอยู่รอดได้ หนังสือเล่มนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อ ช่วยเหลือและให้ความรู้ ผู้ประกอบการ SMEs

รีวิวหนังสือ คัมภีร์

7

เขียน : ธนพงศ์ วงศ์ชินศรี

สำนักพิมพ์ : AMARIN ACADEMY
จำนวนหน้า : 328 หน้า
ราคา : 345 บาท


บทที่ 1 Why รู้ว่าจะขายไปทำไม

6

คิดให้ดี ก่อนตัดสินใจเปิดร้านอาหาร ทำร้านอาหารจะดีใจที่สุดอยู่สองวัน คือวันที่เริ่มเปิดร้าน กับวันที่เราตัดสินใจปิดร้าน

5 เหตุผลที่เปิดร้านอาหาร

  1. ชอบทำอาหาร
  2. ชอบรับประทานอาหารมาก
  3. อยากหุ้นกับเพื่อนเปิดร้าน
  4. เปิดร้านตามคนอื่น
  5. มีสถานที่ เลยเปิดร้าน

การทำอาหารกับการทำธุรกิจร้านอาหารนั้นเป็นคนละเรื่องกัน

6 เรื่องต้องรู้ ก่อนตัดสินใจเปิดร้านอาหาร

  1. ธุรกิจนี้ไม่สามารถทำให้รวยได้ในเวลาอันสั้น
  2. ถ้าไม่พร้อมจะเจอปัญหา อย่าเข้ามาในธุรกิจนี้
  3. ธุรกิจนี้ไม่มีเสือนอนกิน
  4. คนคืนหัวใจของธุรกิจนี้
  5. ร้านอาหารมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
  6. Passion ทำให้เกิดธุรกิจ แต่ไม่ทำให้ธุรกิจเติบโต

ทำไมร้านอาหารส่วนใหญ่ถึงเจ๊ง

  1. เจ้าของร้านขาดประสบการณ์
  2. ปัญหาเรื่องคน
  3. เลือกทำเลและตลาดผิด
  4. ขาดจุดขายที่แตกต่าง
  5. รสชาติไม่อร่อยและไม่คงที่
  6. คุมค่าใช้จ่ายไม่ได้
  7. ขาดระบบบริหารจัดการ
  8. ขาดการทำการตลาดที่ดี
  9. ประสบการณ์ที่ไม่ดีของลูกค้า

บทที่ 2 What รู้ว่าจะขายอะไร

5

อย่าพยายามขายอาหารทุกอย่างในร้านร้านเดียว ให้เริ่มด้วยการคิดคอนเซ็ปท์ร้าน ควรกำหนดคอนเซ็ปท์ร้านให้ชัดเจนว่าทำอะไร

เลือกประเภทของร้านอาหาร

  1. Fast Food
  2. Fast Casual
  3. Casual
  4. Fine Dining
  5. Food Truck/Pop Up
  6. Catering
  7. Cafe&Bistro
  8. Food Delivery

หาจุดขายเฉพาะตัว เลียนแบบได้ยาก และตอบโจทย์ลูกค้า

การตั้งชื่อร้าน ควรจำง่าย สะกดง่าย และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว


บทที่ 3 Who รู้ว่าจะขายใคร

4

หากลุ่มเป้าหมายให้เจอ

ปัจจัยที่มีผลในการเลือกกลุ่มเป้าหมาย

  • ทำเลที่ตั้ง
  • ราคาอาหาร
  • คอนเซ็ปท์ร้าน

เข้าใจนิสัยแต่ละกลุ่มอายุ

  • Generation Z
  • Generation Y
  • Generation X
  • Baby Boomer

การแบ่งกลุ่มตามฐานรายได้

  • กลุ่มรายได้สูง
  • กลุ่มรายได้ปานกลาง
  • กลุ่มรายได้น้อย

การสังเกตความสำคัญของลำเลที่ตั้ง

  • ประเภทของทำเลที่ตั้ง
    • ทำเลในห้างสรรพสินค้า
    • ทำเลนอกห้างสรรพสินค้า

ลักษณะของพื้นที่

  • ย่านออฟฟิศสำนักงาน
  • ย่านสถานที่ราชการและสถานศึกษา
  • ย่านที่พักอาศัย
  • ห้างสรรพสินค้า

ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง

  • กลุ่มลูกค้า
  • การเข้าถึง
  • การมองเห็น
  • ที่จอดรถ
  • ค่าเช่า
  • สัญญาเช่า
  • การแข่งขัน

การวิเคราะห์คู่แข่ง

  • คู่แข่งทางตรง
  • คู่แข่งทางอ้อม

การประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุน

  • ต้นทุนหลัก
  • ต้นทุนย่อย

การประเมินงบประมาณในการตกแต่งร้าน การคาดการณ์รายได้

  • บริการงานจัดเลี้ยง
  • บริการจัดส่งอาหาร
  • การขายบัตรสมาชิก ของขวัญของชำร่วย

การคาดการณ์รายจ่าย

  • ต้นทุนวัตถุดิบ
  • ต้นทุนแรงงาน
  • ต้นทุนค่าเช่า
  • ต้นทุนการตลาด
  • ต้นทุนการบริหาร
  • ต้นทุนอื่นๆ
  • ต้นทุนค่าเสื่อม

กลยุทธ์การตั้งราคา

  1. การตั้งราคาโดยดูจากต้นทุน
  2. การตั้งราคาโดยดูจากสภาพการแข่งขัน
  3. การตั้งราคาโดยดูจากการให้คุณค่าของลูกค้า

การตั้งราคาเมนู

  • สัดส่วนต้นทุนอาหาร
  • Yield เรื่องต้องรู้ก่อนตั้งราคา
  • Yield คืนการหาค่าเฉลี่ยของวัตถุดิบที่เหลือ
  • หลังจากการตัดแต่งและหักการสูญเสียออกไปแล้ว

ความสูญเสียเกิดได้จากหลายปัจจัย

  • ความสูญเสียระหว่างการเตรียมอาหาร
  • ความสูญเสียจากการปรุงอาหารมากเกินไป
  • ความสูญเสียจากการที่วัตถุดิบหมดอายุ
  • ความสูญเสียที่เกิดจากการตัดแต่งที่มากเกินไป

วิธีที่สามารถลด Waste ได้ดี คือ การคิดเมนูที่มาการนำ Waste เหล่านี้มาประกอบอาหาร

  • การควบคุมปริมาณอาหารต่อจาน
  • คุณต้องกำหนดปริมาณวัตถุดิบแต่ละชนิดให้ชัดเจน
  • โดยต้องกำหนดทั้งจำนวนและน้ำหนักต่อชิ้น

การบาลานซ์เมนู ร้านอาหารที่ดีจะมีการบาลานซ์เมนู ในแต่ละสเตชั่นให้มีความเหมาะสม


บทที่ 4 Where รู้ว่าจะขายที่ไหน

3

ประเภทของทำเลที่ตั้ง (Location Type)

  • ทำเลในห้างสรรพสินค้า ค่าตกแต่งภายในห้างฯสูกกว่าภายนอกไม่น้อยกว่า 30-40%
  • ทำเลนอกห้างสรรพสินค้า ค่าเช่ามีราคาถูกกว่าพื้นที่ในห้าง

ลักษณะของพื้นที่

  • ย่านออฟฟิศสำนักงาน
  • ย่านสถานที่ราชการและการศึกษา
  • ย่านที่พักอาศัยห้างสรรพสินค้าและคอมมูนิตี้มอลล์

ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง ก่อนที่จะพิจารณาถึงปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้งร้าน

  • อย่าลืมถามตัวเองให้ดีก่อนว่าคุณตอบคำถามเรื่องเหล่านี้ได้แล้วหรือยัง
  • รู้หรือยังว่ากลุ่มลูกค้าของคุณเป็นใคร
  • รู้หรือยังว่าคุณต้องการขายอะไร
  • รู้หรือยังว่าต้องการพื้นที่ประมาณเท่าไหร่ในการเปิดร้าน
  • คุณมองหาพื้นที่แบบไหน

กลุ่มลูกค้า

  • การเข้าถึง
  • การมองเห็น
  • ที่จอดรถ
  • ค่าเช่า
  • สัญญาเข่า
  • การแข่งขัน

บทที่ 5 How รู้ว่าจะขายอย่างไร

2

การปรมะมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุน

  • ต้นทุนหลัก คือ ต้นทุนที่สามารถจับต้องได้ ค่าก่อสร้างอาคาร ระบบวิศกกรมต่างๆ
  • ต้นทุนย่อย คือ ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ เช่น ค่าออกแบบอาคาร ค่าตกแต่งภายใน

คาดการณ์รายได้ โดยปกติยอดขายอาหารมักจะอยู่ประมาณ 80-90% ของยอดขายทั้งหมด บางร้านเน้นทำโปรโมชั่นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาจทำสัดส่วนยอดขายเครื่องดื่มไปถึง 50% ของยอดขายทั้งหมด

การคาดการณ์รายจ่าย

ร้านอาหารส่วนใหญ่มักคาดการณ์รายจ่ายไม่ครบตั้งแต่ก่อนเปิดร้าน ทำให้ตอนเปิดร้านไปแล้วมักเกิดค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิด ส่งผลให้ได้กำไรน้อยกว่าที่ควรจะเป็น

โครงสร้างต้นทุนของร้านอาหาร

  • ต้นทุนวัตถุดิบ
  • ต้นทุนแรงงาน
  • ต้นทุนค่าเช่า
  • ต้นทุนการตลาด
  • ต้นทุนการบริหาร
  • ต้นทุนอื่นๆ
  • ต้นทุนค่าเสื่อม

กลยุทธ์การตั้งราคา

  • การตั้งราคาโดยดูจากต้นทุน
  • การตั้งราคาโดยดูจากสภาพการแข่งขัน
  • การตั้งราคาโดยดูจากการให้คุณค่าของลูกค้า

ทีมงานร้านอาหาร
พนักงานหลังบ้าน

  • เชฟ หรือหัวหน้าเชฟ
  • ผู้ช่วยเชฟ
  • พนักงานปรุงอาหาร
  • พนักงานเตรียมอาหาร
  • พนักงานล้างจาน

พนักงานหน้าบ้าน

  • ผู้จัดการร้าน
  • พนักงานต้อนรับ
  • แคชเชียร์
  • พนักงานเสิร์ฟ
  • พนักงานออกอาหาร

บทที่ 6 When รู้ว่าจะขายเมื่อไหร่

1

การวางแผนก่อนเปิดร้าน

  • การทำเช็คลิสต์ก่อนเปิดร้าน
  • วางแผนโปรโมทร้าน

การตลาดสำหรับร้านอาหาร

  • เว็บไซต์
  • เฟซบุ๊ก
  • ไลน์แอด
  • อินสตาแกรม

 

เรียบเรียงโดย คุณปิยาพัชร ปกครอง (ปาร์มี่)

อ้างอิงจาก https://bit.ly/3uOavJm

กองบรรณาธิการเว็บไซต์

ยินดีสนับสนุน SMEs ไทยทุกแบรนด์ ที่ต้องการสร้างความเข้มแข็ง อยากเรียนรู้ พัฒนาธุรกิจ ส่งเสริมความเข้าใจในการตลาด มีความคิดสร้างสรรค์ แบ่งปันเพื่อสังคม ต่อยอดธุรกิจ ให้ประสบความสำเร็จในอนาคต