“พรีเมี่ยมคาร์แคร์” บริการครบวงจร! เน้นคุณภาพ ลงทุนได้ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ

หลักเกณฑ์ในการลงทุนสร้างธุรกิจ ต้องดูที่กำลังซื้อของกลุ่มลูกค้าเป็นสำคัญ ยิ่งเป็นสินค้าหรือบริการที่คนต้องการมากๆ โอกาสสร้างรายได้ก็มีมากเช่นกัน ซึ่งธุรกิจคาร์แคร์ จะสัมพันธ์กับตลาดรถยนต์ที่นับวันจะมีมูลค่ามากขึ้นเรื่อยๆ และมีลูกค้าหมุนเวียนต่อเนื่อง

หากดูตัวเลขในปี 2566 ยอดขายรถยนต์มีประมาณ 855,000 คัน และกำลังการผลิตรถยนต์ในปี 2567 ก็สูงกว่า 1.9 ล้านคัน จำนวนผู้ใช้รถยนต์ในเมืองไทยก็มีตัวเลขสูงกว่า 42 ล้านคัน นั่นคือเหตุผลน่าสนใจว่าทำไม “คาร์แคร์” จึงเป็นสุดยอดการลงทุนที่สร้างรายได้ดีแน่

ซึ่งพรีเมี่ยมคาร์แคร์โดย บริษัท ที.วี.ซี.คาร์แคร์ จำกัด เจ้าของเครื่องหมายการค้า “พรีเมี่ยม” (Premium) มีประสบการณ์ในธุรกิจมานานกว่า 30 ปี ให้บริการเคลือบเซรามิก , เคลือบสี , พ่นกันสนิม , ล้างห้องเครื่อง , พ่นขจัดเชื้อโรค , ติดตั้งฟิล์มกรองแสงและอุปกรณ์เสริมต่างๆ ตลอดจนการเตรียมรถใหม่ก่อนส่งมอบตามโชว์รูมต่างๆ และได้พัฒนาธุรกิจตามยุคสมัยมาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทภายใต้เครื่องหมายการค้า Premium มีพนักงานกว่า 1,250 คนทั่วประเทศ

ลงทุนกับ “พรีเมี่ยมคาร์แคร์” สร้างรายได้ดี แค่ไหน?

พรีเมี่ยมคาร์แคร์
ภาพจาก พรีเมี่ยมคาร์แคร์

งบการลงทุนเริ่มต้นที่ 7.5 แสนบาท ถ้าประเมินจากมูลค่ารวมของตลาดรถยนต์ถือว่าเป็นการเริ่มลงทุนที่ใช้งบน้อย แต่โอกาสประสบความสำเร็จสูง ด้วยจุดเด่นคือบริการที่ครบวงจร สำหรับคนรักรถแล้วถือว่ามาที่เดียวจบมีครบทุกอย่าง และมีระบบการบริหารจัดการเป็นอย่างดี พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ลงทุน ไม่นับรวมเรื่องผลิตภัณฑ์ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น แชมพูทำความสะอาดรถ น้ำยาทาล้อ น้ำยาขัดเคลือบ น้ำยาเคลือบเซรามิก น้ำยาขจัดกลิ่นอับ น้ำยาฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ

พรีเมี่ยมคาร์แคร์
ภาพจาก พรีเมี่ยมคาร์แคร์

อีกทั้งยัง มีบริการพิเศษ ของ Premium Care Package ช่วยเหลือรถเสียฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ด้วยแอปพลิเคชันที่ทันสมัย รวดเร็ว ในราคาที่ประหยัดกว่าการเรียกใช้งานรถช่วยเหลือฉุกเฉินด้วยตัวเอง ดังนั้นการลงทุนกับพรีเมี่ยมคาร์แคร์มั่นใจได้ว่าสามารถสร้างรายได้อย่างมั่นคง ดูได้จากตัวเลขของสาขาที่มีอยู่ทั่วประเทศกว่า 94 แห่ง

ซึ่งงบประมาณในการลงทุนขึ้นอยู่กับรูปแบบของศูนย์บริการ รวมถึงการตกแต่งภายในต่างๆด้วยรูปแบบสัญญาแฟรนไชส์กำหนดระยะเวลา 3 ปี และด้วยทีมงานที่เต็มเปี่ยมด้วยคุณภาพและประสบการณ์กว่า 20 ปี พร้อมดูแลผู้ลงทุนทุกสาขาให้เติบโตสร้างรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เปิดเคล็ดลับลงทุน “พรีเมี่ยมคาร์แคร์” สูตรสำเร็จเร็ว

พรีเมี่ยมคาร์แคร์
ภาพจาก พรีเมี่ยมคาร์แคร์

ในแง่ของธุรกิจย่อมต้องมีคู่แข่ง และปัจจุบันปัจจัยเสี่ยงที่ต้องคำนึงคือเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ คนส่วนใหญ่เน้นประหยัดมากขึ้น สิ่งเหล่านี้คือโจทย์ที่คนลงทุนต้องมีการวางแผนชัดเจน ซึ่ง “พรีเมี่ยมคาร์แคร์” มาพร้อมสูตรเด็ดเคล็ดลับการลงทุนที่น่าสนใจ ตอกย้ำว่าประสบความสำเร็จได้แน่

  • ฐานลูกลูกค้าของพรีเมี่ยมคาร์แคร์มีอยู่ทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเลือกลงทุนทำธุรกิจในพื้นที่ไหนก็สามารถมั่นใจได้ว่าลูกค้าสมาชิก พรีเมี่ยม คาร์แคร์ จะเข้าไปใช้บริการกับสาขาใกล้บ้านอย่างแน่นอน
  • บริษัทเน้นการทำตลาดให้ผู้ลงทุนสร้างรายได้ง่ายขึ้น เป็นความสามารถและประสบการณ์ของพรีเมี่ยมคาร์แคร์ที่รู้ดีว่าต้องทำการตลาดแบบไหนให้เข้าถึงลูกค้า เป็นผลดีต่อผู้ลงทุนที่ไม่ต้องไปเริ่มทำการตลาดด้วยตัวเอง
  • เป็นธุรกิจที่สร้างรายได้ในระยะยาวมีการวางระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการรับรู้รายรับรายจ่ายได้อย่างแม่นยำและรวดเร็วถือเป็นหัวใจสำคัญของการทำธุรกิจในยุคใหม่ที่ต้องผนวกใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ภาพจาก พรีเมี่ยมคาร์แคร์

ด้วยเหตุผลเหล่านี้ นี่คือสูตรสำเร็จที่พรีเมี่ยมแคร์มีประสบการณ์ลองผิดลองถูกมาอย่างต่อเนื่อง จึงการันตีได้ว่าพรีเมี่ยมคาร์แคร์เป็นหนึ่งในการลงทุนที่เหมาะสมกับยุคนี้มาก สำหรับใครที่สนใจอยากลงทุนแต่ติดปัญหาเรื่องเงินทุน หรือว่าทำเล สามารถปรึกษากับทางทีมงานที่พร้อมให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี พรีเมี่ยมคาร์แคร์ต้องการให้คนลงทุนทุกคนประสบความสำเร็จในธุรกิจได้อย่างสูงสุด

ภาพจาก พรีเมี่ยมคาร์แคร์

พรีเมี่ยมคาร์แคร์
สนใจลงทุน คลิก
https://bit.ly/40jafDi
โทร. 089-4458034(คุณคมสันต์), 088-0027641(คุณวราภรณ์), 095-3707971(คุณกิตติชัย)

 

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise

อ้างอิงจาก คลิกที่นี่


8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์

1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์

  • กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
  • ชื่อกิจการ (Brand)
  • การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
  • การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
  • การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
  • การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
  • การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
  • การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
  • การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์

2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ

  • ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
  • ระบบการเงิน การบัญชี
  • งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
  • รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
  • ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ

3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
  • แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
  • สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
  • เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
  • มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
  • มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
  • ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี

4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์

  • กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
  • การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
  • สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
  • เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ

5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายแฟรนไชส์
  • ระบบการเงิน
  • ค่าธรรมเนียมต่างๆ
  • ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
  • การจดทะเบียนแฟรนไชส์
  • เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
  • ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
  • การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
  • การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
  • การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า

6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น

7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
  • พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
  • ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
  • การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
  • เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
  • จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์

8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์

  • การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
  • กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
  • การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
  • การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
  • กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
  • กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี

สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

คุณรัตนชัย ม่วงงาม (เปี๊ยก)

เรียนจบจากคณะนิเทศศาสตร์ ทำงานในด้านวารสารมากว่า10ปี สะสมความรู้หลากหลายแนวทั้งด้านการเกษตร สังคม สู่การประยุกต์เป็นอาชีพทั้ง SMEs และแฟรนไชส์รวมถึงแนวทางด้านกลยุทธ์การตลาดต่างๆ การเขียนคืองานที่เราตั้งใจและใจรักมากที่สุด